ชื่อเรื่อง :
ชื่อไฟล์ :
แผนการดำเนินงานประจำปี
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
แผนการดำเนินงานประจำปี
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
แผนการดำเนินงานประจำปี
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
../add_file/
แผนการดำเนินงานประจำปี
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ชื่อไฟล์ : แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับจ้างเหมาจัดเตรียมสถานที่โครงการแข่งขันฟุตซอล
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับจ้างเหมาจัดเตรียมสถานที่โครงการแข่งขันฟุตซอล../add_file/แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับจ้างเหมาจัดเตรียมสถานที่โครงการแข่งขันฟุตซอล
ชื่อไฟล์ : ตัวอย่างเอกสาร online
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ตัวอย่างเอกสาร online../add_file/ตัวอย่างเอกสาร online
ชื่อไฟล์ : ตัวอย่างเอกสาร online
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ตัวอย่างเอกสาร online../add_file/ตัวอย่างเอกสาร online
ชื่อไฟล์ : ข้อมูลระบบ
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ข้อมูลระบบ../add_file/ข้อมูลระบบ
ชื่อไฟล์ : บทความใหม่
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: บทความใหม่../add_file/บทความใหม่
ชื่อไฟล์ : ตัวอย่างเอกสาร online
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ตัวอย่างเอกสาร online../add_file/ตัวอย่างเอกสาร online
ชื่อไฟล์ : {$Duration:1200,$Opacity:2}
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: {$Duration:1200,$Opacity:2}../add_file/{$Duration:1200,$Opacity:2}
ชื่อไฟล์ : FM5StIFSun31114.jpg
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์ : ขอข้อมูล
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ขอข้อมูล../add_file/ขอข้อมูล
ชื่อไฟล์ : เข้ามาเยี่ยมชมครับ
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: เข้ามาเยี่ยมชมครับ../add_file/เข้ามาเยี่ยมชมครับ
ชื่อไฟล์ :
รอปรับปรุง ใหม่
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
รอปรับปรุง ใหม่
../add_file/
รอปรับปรุง ใหม่
ชื่อไฟล์ :
รอปรับปรุง
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
รอปรับปรุง
../add_file/
รอปรับปรุง
ชื่อไฟล์ : w3-animate-opacity
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: w3-animate-opacity../add_file/w3-animate-opacity
ชื่อไฟล์ :
รอปรับปรุง
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
รอปรับปรุง
../add_file/
รอปรับปรุง
ชื่อไฟล์ :
องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
../add_file/
ชื่อไฟล์ :
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
../add_file/
ชื่อไฟล์ : รอปรับปรุง
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: รอปรับปรุง../add_file/รอปรับปรุง
ชื่อไฟล์ : ประวัติความเป็นมาของตำบลสมัย
ด้วยที่ พ่ออาจารย์บุญตัน สอนอินต๊ะ อดีตประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ท่านได้สืบถามคนเฒ่าคนแก่ในตำบลสมัย ตลอดจนผู้รู้ในตำบลสมัย ถึงความเป็นมาของตำบลสมัยนั้นว่าความเป็นมาอย่างไร ซึ่งพ่ออาจารย์บุญตัน สอนอินต๊ะ ได้มาปรึกษาท่านพระครูวิจารณ์ภัทรกิจ เจ้าคณะตำบลสมัย/เจ้าอาวาสวัดบ้านจัวว่าสมควรที่จะพิมพ์และบันทึกไว้ให้กับคนรุ่นหลังได้ทราบโดยสังเขปดังนี้
พ่อหลวงปุ๊ด ทินวัง อดีตผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง เล่าว่าแต่เดิมราษฎรบ้านสมัยมีคนเล่าว่าสืบเชื้อสายมาจาก ลัวะ พากันหนีอพยพลงมาตั้งอยู่ฝั่งสบห้วยสมัย ห้วยแม่มอด นานมาแล้วมีอาชีพทำไร่ ทำนา ปลูกพืชไร่ ปลูกม่อน เลี้ยงไหม ปั่นเส้นด้าย ชักใยไหม ทำทอเป็นผืนแผ่นผ้า ตัดเย็บเสื้อผ้า นุ่งผ้า อยู่กันมาช้านาน ตั้งชื่อกันขึ้นมาว่าเป็นบ้านสอยไหม ราษฎรชาวบ้านรวมกันสร้างวัดขึ้นชื่อว่าวัดต๊อบข๊อบ อาคารสำนักวัดตั้งด้วยไม้ หลังคามุงด้วยหญ้าคา ฝาไม้ไผ่ ใช้เป็นสถานที่ศึกษาเล่าเรียนของพระภิกษุสงฆ์สามเณรศึกษาเล่าเรียนภาษาล้านนา (เรียกกันว่าภาษาพื้นเมือง) อยู่นานเข้าพระภิกษุสามเณรได้ลาสิกขา ออกเป็นชาวบ้านเรียกกันว่าเป็นหน้อย หนาน (เป็นเซียง-เป็นทิด)
พระยาเจ้าเมืองได้ส่งเสนาบดีออกมาทำการสำรวจตรวจสอบจำนวนผู้คนได้นำเอาชื่อหนานคำแสนตั้งเป็นหัวหน้าหมู่บ้าน แต่งตั้งชื่อว่าต๊าวคำแสน ให้มีการปกครองรักษาความสงบสุขของราษฎรให้ทำมาเลี้ยงชีพด้วยความผาสุก หมดสมัยต๊าวคำแสนเจ้าเมืองลำปางได้แต่งตั้งต๊าวคนใหม่ขึ้นชื่อว่า ต๊าวเสมอใจ ส่วนราษฎรที่ย้ายไปตั้งหมู่บ้านอยู่บ้านน้ำหลง เจ้าเมืองลำปางได้ตั้งหน้อยแสนอินต๊ะ เป็นหัวหน้าหมู่บ้าน
ต่อมามีการแต่งตั้ง ต๊าวคำแดง เป็นผู้ปกครองดูแลบ้านสมัยหมู่ที่ 1 แต่งตั้ง หน้อยแสน อินต๊ะ เป็นผู้ปกครองลูกบ้านน้ำหลง หมู่ที่ 2 แต่งตั้งต๊าวคำน้อย เป็นผู้ปกครองราษฎรบ้านจัว หมู่ที่ 3 แต่งตั้งหนานหนิ้ว เป็นผู้ช่วยไปปกครองราษฎรบ้านอุมลอง นำพาลูกบ้านประกอบการทำมาเลี้ยงครอบครัวสืบต่อมา ทางวัดสมัยคิดตั้งสำนักขึ้นที่สันทางทิศเหนือหมู่บ้านโดยออกชักชวนราษฎร ผู้มีใจบุญ เสียสละแรงงาน ตัดไม้เสา ไม้เครื่องบน ออกไปเก็บหญ้าคา สร้างเป็นศาลาสร้างที่พัก (นอน) ได้ไปนิมนต์พระสงฆ์มาประจำ สอนให้เรียนภาษาล้านนา ภาษาพื้นเมืองเหนือ เริ่มต้น กะ ขะ ก๊ะ คะ งะ ถึง สะหะระละอํ เจ้าอาวาสวัดออกไปติดต่อขอยืมหนังสือฉบับต้นนำเอามาเขียนคัด ลงใส่ใบลาน หรือกระดาษสา เป็นคำสวดมนต์เขียนเป็นธรรมเทศน์นิยามคำสอนอบรมชาวบ้านให้เป็นผู้มีความรู้ นำวิชาความรู้ที่ได้รับสนองจากพระอาจารย์ออกไปเผยแผ่ตามคำสอนได้เขียนไว้ในพระธรรมคำสอนว่า ผู้ใด พระ ภิกษุ สามเณร ผู้ใดได้ทำการอบรมสั่งสอนลูกศิษย์จนมีความรู้อ่าน เทศน์ หนังสือใบลาน ให้ผู้อื่นรับฟัง จนมีความรู้ความเข้าใจจะเป็นผู้มีอานิสงส์นาบุญสูง ราษฎรชาวบ้านต่างก็นำลูกหลานเข้าไปมอบตัวเป็นศิษย์กับพระภิกษุสามเณรที่อยู่ตามวัดต่าง ๆ ตั้งใจฝึกสอนลูกศิษย์จนมีความรู้ภาษาพื้นเมืองขยายออกไปบ้านก็ลาสิกขา ออกไปเป็นคฤหัสห์ ได้ชื่อว่าเป็น หน้อย เป็นหนาน (เซียง เป็นทิด) พร้อมกับได้ร่ำเรียนวิชาอาคมคงกระพันต่อศาสตราอาวุธ สมัยนั้น
เวลาต่อมาเกิดภาวะฟ้าฝนไม่ตกตามฤดูกาลติดต่อกันเป็นเวลา 3-4 ปี ราษฎรอัตคัดขาดแคลนอาหาร ด้วยความจำเป็นชาวบ้านพากันเดินออกจากบ้านเข้าป่าไปหาขุดหัวเผือก มัน กลอย มาต้มแกง กินกันจนมีคำเล่าลือกันว่าผู้ใดบ้านหลังมีหม้อข้าว (แช่ข้าว) หัวค่ำต้องเอาไปซ่อนไว้ในหัวนอน มิฉะนั้นถูกขโมยแอบลักเอาหม้อข้าวแช่ไว้ตอนเผลอนอนหลับไป เสียงว่าขโมยที่จะไปแอบลักหม้อข้าวแช่ ชอบเจ้าของนอนหลับกรนเสียงดัง ๆ เช่นนี้ลักเอาง่ายมาก และปลอดภัยด้วยเพราะเจ้าของมันหลับกรน กว่าจะรู้นอนหลับตื่นขึ้นมา หม้อข้าวที่แช่ไว้นั้นมีอันตรายขโมยลักเอาไปเสียแล้ว
อยู่มาวันหนึ่ง เป็นปี พ.ศ. 2456 มีหน้อยเป็งเป็นหัวหน้า ไปชักชวนหน้อยขี้ลัก หน้อยอ้ายโอ๋ง และหนานคำเวมาพร้อมหารือว่า ใช้ผ้านุ่งสีดำปึก เย็บไล่สำหรับใส่ข้าวเปลือกคนละถุงติดตัวไปขอข้าวที่บ้านต๊าวคำ ตรงบ้านสันป่าป่าง สมัย หนานคำเวถามว่าขอไม่ได้จะทำอย่างไร ส่วนหน้อยเป็งพูดว่าข้าจะขึ้นทางหน้าบ้านต๊าวคำ หื้อหน้อยขี้ลักขึ้นบนหลองข้าวตักเอาข้าวใส่ไต้ ส่วนหน้อยอ้ายโอ๋ง ถือมีดดาบเฝ้าดูต้นทาง (ส่วนหนานคำเว) เป็นขี้แขะ บอกคำปฏิเสธไม่ยอมร่วมทีมด้วย ทั้ง 3 คนออกเดินทางจากบ้าวจัว ตรงไปที่บ้านต๊าวคำแดง ปรากฏว่าหน้อยเป็งจะพูดอ้อนวอนปานใด ต๊าวคำแดงก็ไม่ยอมส่วนหน้อยขี้ลักขึ้นหลองข้าวตักเอาข้าวใส่ไต้ ส่วนหน้อยขันแอบฟังอยู่ข้างฝา จึงสะพายมีดดาบ 2 เล่ม ลงทางหลังบ้านคอดใต้ถุนบ้านเพื่อไปเฝ้าดูข้าว ได้ยินเสียงมีผู้คนตักข้าวใส่ไต้หน้อยขี้ลักได้ยินเสียงร้องเรียกให้ลงจากหลองข้าวพร้อมด้วยแบกไต้ข้าว มือขวาถือมีดดาบไว้ป้องกันตัวลงจากหลองข้าวแลเห็นหน้อยขันยืนจ้องดูอยู่ จึงเกิดการต่อสู้กันขึ้นใช้มีดดาบฟาดฟันกัน มีดดาบของหน้อยขี้ลักฟันไปถูกมีดดาบของหน้อยขันตรงด้ามมีดดาบของหน้อยขี้ลักหักคาด้ามดาบของหน้อยขัน หน้อยขี้ลักเสียท่าถูกหน้อยขันฟันตรงท้องเป็นแผลเหวอะหวะ ไส้ของหน้อยขี้ลักไหลออกมาหน้อยขี้ลักส่งเสียงร้องไห้ หน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋งได้มาช่วยเอาลำไส้ของหน้อยขี้ลักยัดใส่เข้าไปในท้องแล้วเอาผ้าขาวมาพันพากันอุ้มเอาหน้อยขี้ลัก หนีออกไปทางทิศตะวันตกข้ามลำห้วยสมัยไปถึงต้นไม้ใหญ่ หน้อยขี้ลักไม่ไหวสิ้นใจตาย หน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋งจึงพากันหลบหนีเข้าป่าเพื่อไปซ่อนตัวหนีความผิด เหตุการณ์นี้ข่าวไปถึงอำเภอ อำเภอส่งข่าวไปถึงพระยาเจ้าเมือง ได้ส่งเจ้าหน้าที่ติดตามนำเอาตัวคนร้ายไปดำเนินคดี ต๊าวแสน อินต๊ะได้ติดตามไปเกลี้ยกล่อมหน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋ง ส่งถึงเจ้าเมืองลำปางเพื่อดำเนินคดี
พอเจ้าบุญทวงค์วงมานิตย์ เจ้าผู้ครองนครลำปาง ได้บัญชาแต่งตั้งให้ต๊าวแสน อินต๊ะ เป็นขุนมือปราบโจรผู้ร้ายแต่ ต๊าวแสน อินต๊ะ ให้แต่งตั้งขุนสมัยธนกิจ ทินวัง ตำบลสมัยได้รับยกฐานะสูงเป็นขุนสมัยคนที่ 1 คนที่ 2 แต่งตั้งให้พ่อขุนสมัยนิคมบำรุง ได้ทำหน้าที่ในการปกครองตำบลสมัยและท่านได้ทำความดีความชอบตลอดความสามัคคีปรองดองและความสามัคคีในตำบลสมัยให้มีความสุข ความเจริญ เสมอมาตราบเท่าในปัจจุบันนี้
อาณาเขต
พื้นที่ความรับผิดชอบที่อยู่ในเขต องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย มีทั้งหมด 148.56 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 92,484 ไร่ อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ ไปทางทิศตะวันออกเป็นระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอใกล้เคียง ดังนี้
ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.แม่กัวะ อ.สบปราบ และต.สันดอนแก้ว อ.แม่ทะ จ.ลำปาง
ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.ป่าสัก อ.วังชิ้น จ.แพร่ และต.สบปราบ อ.สบปราบ จ.ลำปาง
ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.แม่พุง อ.วังชิ้น จ.แพร่
ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.สบปราบ อ.สบปราบ จ.ลำปาง
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ประวัติความเป็นมาของตำบลสมัย
ด้วยที่ พ่ออาจารย์บุญตัน สอนอินต๊ะ อดีตประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ท่านได้สืบถามคนเฒ่าคนแก่ในตำบลสมัย ตลอดจนผู้รู้ในตำบลสมัย ถึงความเป็นมาของตำบลสมัยนั้นว่าความเป็นมาอย่างไร ซึ่งพ่ออาจารย์บุญตัน สอนอินต๊ะ ได้มาปรึกษาท่านพระครูวิจารณ์ภัทรกิจ เจ้าคณะตำบลสมัย/เจ้าอาวาสวัดบ้านจัวว่าสมควรที่จะพิมพ์และบันทึกไว้ให้กับคนรุ่นหลังได้ทราบโดยสังเขปดังนี้
พ่อหลวงปุ๊ด ทินวัง อดีตผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง เล่าว่าแต่เดิมราษฎรบ้านสมัยมีคนเล่าว่าสืบเชื้อสายมาจาก ลัวะ พากันหนีอพยพลงมาตั้งอยู่ฝั่งสบห้วยสมัย ห้วยแม่มอด นานมาแล้วมีอาชีพทำไร่ ทำนา ปลูกพืชไร่ ปลูกม่อน เลี้ยงไหม ปั่นเส้นด้าย ชักใยไหม ทำทอเป็นผืนแผ่นผ้า ตัดเย็บเสื้อผ้า นุ่งผ้า อยู่กันมาช้านาน ตั้งชื่อกันขึ้นมาว่าเป็นบ้านสอยไหม ราษฎรชาวบ้านรวมกันสร้างวัดขึ้นชื่อว่าวัดต๊อบข๊อบ อาคารสำนักวัดตั้งด้วยไม้ หลังคามุงด้วยหญ้าคา ฝาไม้ไผ่ ใช้เป็นสถานที่ศึกษาเล่าเรียนของพระภิกษุสงฆ์สามเณรศึกษาเล่าเรียนภาษาล้านนา (เรียกกันว่าภาษาพื้นเมือง) อยู่นานเข้าพระภิกษุสามเณรได้ลาสิกขา ออกเป็นชาวบ้านเรียกกันว่าเป็นหน้อย หนาน (เป็นเซียง-เป็นทิด)
พระยาเจ้าเมืองได้ส่งเสนาบดีออกมาทำการสำรวจตรวจสอบจำนวนผู้คนได้นำเอาชื่อหนานคำแสนตั้งเป็นหัวหน้าหมู่บ้าน แต่งตั้งชื่อว่าต๊าวคำแสน ให้มีการปกครองรักษาความสงบสุขของราษฎรให้ทำมาเลี้ยงชีพด้วยความผาสุก หมดสมัยต๊าวคำแสนเจ้าเมืองลำปางได้แต่งตั้งต๊าวคนใหม่ขึ้นชื่อว่า ต๊าวเสมอใจ ส่วนราษฎรที่ย้ายไปตั้งหมู่บ้านอยู่บ้านน้ำหลง เจ้าเมืองลำปางได้ตั้งหน้อยแสนอินต๊ะ เป็นหัวหน้าหมู่บ้าน
ต่อมามีการแต่งตั้ง ต๊าวคำแดง เป็นผู้ปกครองดูแลบ้านสมัยหมู่ที่ 1 แต่งตั้ง หน้อยแสน อินต๊ะ เป็นผู้ปกครองลูกบ้านน้ำหลง หมู่ที่ 2 แต่งตั้งต๊าวคำน้อย เป็นผู้ปกครองราษฎรบ้านจัว หมู่ที่ 3 แต่งตั้งหนานหนิ้ว เป็นผู้ช่วยไปปกครองราษฎรบ้านอุมลอง นำพาลูกบ้านประกอบการทำมาเลี้ยงครอบครัวสืบต่อมา ทางวัดสมัยคิดตั้งสำนักขึ้นที่สันทางทิศเหนือหมู่บ้านโดยออกชักชวนราษฎร ผู้มีใจบุญ เสียสละแรงงาน ตัดไม้เสา ไม้เครื่องบน ออกไปเก็บหญ้าคา สร้างเป็นศาลาสร้างที่พัก (นอน) ได้ไปนิมนต์พระสงฆ์มาประจำ สอนให้เรียนภาษาล้านนา ภาษาพื้นเมืองเหนือ เริ่มต้น กะ ขะ ก๊ะ คะ งะ ถึง สะหะระละอํ เจ้าอาวาสวัดออกไปติดต่อขอยืมหนังสือฉบับต้นนำเอามาเขียนคัด ลงใส่ใบลาน หรือกระดาษสา เป็นคำสวดมนต์เขียนเป็นธรรมเทศน์นิยามคำสอนอบรมชาวบ้านให้เป็นผู้มีความรู้ นำวิชาความรู้ที่ได้รับสนองจากพระอาจารย์ออกไปเผยแผ่ตามคำสอนได้เขียนไว้ในพระธรรมคำสอนว่า ผู้ใด พระ ภิกษุ สามเณร ผู้ใดได้ทำการอบรมสั่งสอนลูกศิษย์จนมีความรู้อ่าน เทศน์ หนังสือใบลาน ให้ผู้อื่นรับฟัง จนมีความรู้ความเข้าใจจะเป็นผู้มีอานิสงส์นาบุญสูง ราษฎรชาวบ้านต่างก็นำลูกหลานเข้าไปมอบตัวเป็นศิษย์กับพระภิกษุสามเณรที่อยู่ตามวัดต่าง ๆ ตั้งใจฝึกสอนลูกศิษย์จนมีความรู้ภาษาพื้นเมืองขยายออกไปบ้านก็ลาสิกขา ออกไปเป็นคฤหัสห์ ได้ชื่อว่าเป็น หน้อย เป็นหนาน (เซียง เป็นทิด) พร้อมกับได้ร่ำเรียนวิชาอาคมคงกระพันต่อศาสตราอาวุธ สมัยนั้น
เวลาต่อมาเกิดภาวะฟ้าฝนไม่ตกตามฤดูกาลติดต่อกันเป็นเวลา 3-4 ปี ราษฎรอัตคัดขาดแคลนอาหาร ด้วยความจำเป็นชาวบ้านพากันเดินออกจากบ้านเข้าป่าไปหาขุดหัวเผือก มัน กลอย มาต้มแกง กินกันจนมีคำเล่าลือกันว่าผู้ใดบ้านหลังมีหม้อข้าว (แช่ข้าว) หัวค่ำต้องเอาไปซ่อนไว้ในหัวนอน มิฉะนั้นถูกขโมยแอบลักเอาหม้อข้าวแช่ไว้ตอนเผลอนอนหลับไป เสียงว่าขโมยที่จะไปแอบลักหม้อข้าวแช่ ชอบเจ้าของนอนหลับกรนเสียงดัง ๆ เช่นนี้ลักเอาง่ายมาก และปลอดภัยด้วยเพราะเจ้าของมันหลับกรน กว่าจะรู้นอนหลับตื่นขึ้นมา หม้อข้าวที่แช่ไว้นั้นมีอันตรายขโมยลักเอาไปเสียแล้ว
อยู่มาวันหนึ่ง เป็นปี พ.ศ. 2456 มีหน้อยเป็งเป็นหัวหน้า ไปชักชวนหน้อยขี้ลัก หน้อยอ้ายโอ๋ง และหนานคำเวมาพร้อมหารือว่า ใช้ผ้านุ่งสีดำปึก เย็บไล่สำหรับใส่ข้าวเปลือกคนละถุงติดตัวไปขอข้าวที่บ้านต๊าวคำ ตรงบ้านสันป่าป่าง สมัย หนานคำเวถามว่าขอไม่ได้จะทำอย่างไร ส่วนหน้อยเป็งพูดว่าข้าจะขึ้นทางหน้าบ้านต๊าวคำ หื้อหน้อยขี้ลักขึ้นบนหลองข้าวตักเอาข้าวใส่ไต้ ส่วนหน้อยอ้ายโอ๋ง ถือมีดดาบเฝ้าดูต้นทาง (ส่วนหนานคำเว) เป็นขี้แขะ บอกคำปฏิเสธไม่ยอมร่วมทีมด้วย ทั้ง 3 คนออกเดินทางจากบ้าวจัว ตรงไปที่บ้านต๊าวคำแดง ปรากฏว่าหน้อยเป็งจะพูดอ้อนวอนปานใด ต๊าวคำแดงก็ไม่ยอมส่วนหน้อยขี้ลักขึ้นหลองข้าวตักเอาข้าวใส่ไต้ ส่วนหน้อยขันแอบฟังอยู่ข้างฝา จึงสะพายมีดดาบ 2 เล่ม ลงทางหลังบ้านคอดใต้ถุนบ้านเพื่อไปเฝ้าดูข้าว ได้ยินเสียงมีผู้คนตักข้าวใส่ไต้หน้อยขี้ลักได้ยินเสียงร้องเรียกให้ลงจากหลองข้าวพร้อมด้วยแบกไต้ข้าว มือขวาถือมีดดาบไว้ป้องกันตัวลงจากหลองข้าวแลเห็นหน้อยขันยืนจ้องดูอยู่ จึงเกิดการต่อสู้กันขึ้นใช้มีดดาบฟาดฟันกัน มีดดาบของหน้อยขี้ลักฟันไปถูกมีดดาบของหน้อยขันตรงด้ามมีดดาบของหน้อยขี้ลักหักคาด้ามดาบของหน้อยขัน หน้อยขี้ลักเสียท่าถูกหน้อยขันฟันตรงท้องเป็นแผลเหวอะหวะ ไส้ของหน้อยขี้ลักไหลออกมาหน้อยขี้ลักส่งเสียงร้องไห้ หน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋งได้มาช่วยเอาลำไส้ของหน้อยขี้ลักยัดใส่เข้าไปในท้องแล้วเอาผ้าขาวมาพันพากันอุ้มเอาหน้อยขี้ลัก หนีออกไปทางทิศตะวันตกข้ามลำห้วยสมัยไปถึงต้นไม้ใหญ่ หน้อยขี้ลักไม่ไหวสิ้นใจตาย หน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋งจึงพากันหลบหนีเข้าป่าเพื่อไปซ่อนตัวหนีความผิด เหตุการณ์นี้ข่าวไปถึงอำเภอ อำเภอส่งข่าวไปถึงพระยาเจ้าเมือง ได้ส่งเจ้าหน้าที่ติดตามนำเอาตัวคนร้ายไปดำเนินคดี ต๊าวแสน อินต๊ะได้ติดตามไปเกลี้ยกล่อมหน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋ง ส่งถึงเจ้าเมืองลำปางเพื่อดำเนินคดี
พอเจ้าบุญทวงค์วงมานิตย์ เจ้าผู้ครองนครลำปาง ได้บัญชาแต่งตั้งให้ต๊าวแสน อินต๊ะ เป็นขุนมือปราบโจรผู้ร้ายแต่ ต๊าวแสน อินต๊ะ ให้แต่งตั้งขุนสมัยธนกิจ ทินวัง ตำบลสมัยได้รับยกฐานะสูงเป็นขุนสมัยคนที่ 1 คนที่ 2 แต่งตั้งให้พ่อขุนสมัยนิคมบำรุง ได้ทำหน้าที่ในการปกครองตำบลสมัยและท่านได้ทำความดีความชอบตลอดความสามัคคีปรองดองและความสามัคคีในตำบลสมัยให้มีความสุข ความเจริญ เสมอมาตราบเท่าในปัจจุบันนี้
อาณาเขต
พื้นที่ความรับผิดชอบที่อยู่ในเขต องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย มีทั้งหมด 148.56 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 92,484 ไร่ อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ ไปทางทิศตะวันออกเป็นระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอใกล้เคียง ดังนี้
ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.แม่กัวะ อ.สบปราบ และต.สันดอนแก้ว อ.แม่ทะ จ.ลำปาง
ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.ป่าสัก อ.วังชิ้น จ.แพร่ และต.สบปราบ อ.สบปราบ จ.ลำปาง
ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.แม่พุง อ.วังชิ้น จ.แพร่
ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.สบปราบ อ.สบปราบ จ.ลำปาง
../add_file/ประวัติความเป็นมาของตำบลสมัย
ด้วยที่ พ่ออาจารย์บุญตัน สอนอินต๊ะ อดีตประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ท่านได้สืบถามคนเฒ่าคนแก่ในตำบลสมัย ตลอดจนผู้รู้ในตำบลสมัย ถึงความเป็นมาของตำบลสมัยนั้นว่าความเป็นมาอย่างไร ซึ่งพ่ออาจารย์บุญตัน สอนอินต๊ะ ได้มาปรึกษาท่านพระครูวิจารณ์ภัทรกิจ เจ้าคณะตำบลสมัย/เจ้าอาวาสวัดบ้านจัวว่าสมควรที่จะพิมพ์และบันทึกไว้ให้กับคนรุ่นหลังได้ทราบโดยสังเขปดังนี้
พ่อหลวงปุ๊ด ทินวัง อดีตผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง เล่าว่าแต่เดิมราษฎรบ้านสมัยมีคนเล่าว่าสืบเชื้อสายมาจาก ลัวะ พากันหนีอพยพลงมาตั้งอยู่ฝั่งสบห้วยสมัย ห้วยแม่มอด นานมาแล้วมีอาชีพทำไร่ ทำนา ปลูกพืชไร่ ปลูกม่อน เลี้ยงไหม ปั่นเส้นด้าย ชักใยไหม ทำทอเป็นผืนแผ่นผ้า ตัดเย็บเสื้อผ้า นุ่งผ้า อยู่กันมาช้านาน ตั้งชื่อกันขึ้นมาว่าเป็นบ้านสอยไหม ราษฎรชาวบ้านรวมกันสร้างวัดขึ้นชื่อว่าวัดต๊อบข๊อบ อาคารสำนักวัดตั้งด้วยไม้ หลังคามุงด้วยหญ้าคา ฝาไม้ไผ่ ใช้เป็นสถานที่ศึกษาเล่าเรียนของพระภิกษุสงฆ์สามเณรศึกษาเล่าเรียนภาษาล้านนา (เรียกกันว่าภาษาพื้นเมือง) อยู่นานเข้าพระภิกษุสามเณรได้ลาสิกขา ออกเป็นชาวบ้านเรียกกันว่าเป็นหน้อย หนาน (เป็นเซียง-เป็นทิด)
พระยาเจ้าเมืองได้ส่งเสนาบดีออกมาทำการสำรวจตรวจสอบจำนวนผู้คนได้นำเอาชื่อหนานคำแสนตั้งเป็นหัวหน้าหมู่บ้าน แต่งตั้งชื่อว่าต๊าวคำแสน ให้มีการปกครองรักษาความสงบสุขของราษฎรให้ทำมาเลี้ยงชีพด้วยความผาสุก หมดสมัยต๊าวคำแสนเจ้าเมืองลำปางได้แต่งตั้งต๊าวคนใหม่ขึ้นชื่อว่า ต๊าวเสมอใจ ส่วนราษฎรที่ย้ายไปตั้งหมู่บ้านอยู่บ้านน้ำหลง เจ้าเมืองลำปางได้ตั้งหน้อยแสนอินต๊ะ เป็นหัวหน้าหมู่บ้าน
ต่อมามีการแต่งตั้ง ต๊าวคำแดง เป็นผู้ปกครองดูแลบ้านสมัยหมู่ที่ 1 แต่งตั้ง หน้อยแสน อินต๊ะ เป็นผู้ปกครองลูกบ้านน้ำหลง หมู่ที่ 2 แต่งตั้งต๊าวคำน้อย เป็นผู้ปกครองราษฎรบ้านจัว หมู่ที่ 3 แต่งตั้งหนานหนิ้ว เป็นผู้ช่วยไปปกครองราษฎรบ้านอุมลอง นำพาลูกบ้านประกอบการทำมาเลี้ยงครอบครัวสืบต่อมา ทางวัดสมัยคิดตั้งสำนักขึ้นที่สันทางทิศเหนือหมู่บ้านโดยออกชักชวนราษฎร ผู้มีใจบุญ เสียสละแรงงาน ตัดไม้เสา ไม้เครื่องบน ออกไปเก็บหญ้าคา สร้างเป็นศาลาสร้างที่พัก (นอน) ได้ไปนิมนต์พระสงฆ์มาประจำ สอนให้เรียนภาษาล้านนา ภาษาพื้นเมืองเหนือ เริ่มต้น กะ ขะ ก๊ะ คะ งะ ถึง สะหะระละอํ เจ้าอาวาสวัดออกไปติดต่อขอยืมหนังสือฉบับต้นนำเอามาเขียนคัด ลงใส่ใบลาน หรือกระดาษสา เป็นคำสวดมนต์เขียนเป็นธรรมเทศน์นิยามคำสอนอบรมชาวบ้านให้เป็นผู้มีความรู้ นำวิชาความรู้ที่ได้รับสนองจากพระอาจารย์ออกไปเผยแผ่ตามคำสอนได้เขียนไว้ในพระธรรมคำสอนว่า ผู้ใด พระ ภิกษุ สามเณร ผู้ใดได้ทำการอบรมสั่งสอนลูกศิษย์จนมีความรู้อ่าน เทศน์ หนังสือใบลาน ให้ผู้อื่นรับฟัง จนมีความรู้ความเข้าใจจะเป็นผู้มีอานิสงส์นาบุญสูง ราษฎรชาวบ้านต่างก็นำลูกหลานเข้าไปมอบตัวเป็นศิษย์กับพระภิกษุสามเณรที่อยู่ตามวัดต่าง ๆ ตั้งใจฝึกสอนลูกศิษย์จนมีความรู้ภาษาพื้นเมืองขยายออกไปบ้านก็ลาสิกขา ออกไปเป็นคฤหัสห์ ได้ชื่อว่าเป็น หน้อย เป็นหนาน (เซียง เป็นทิด) พร้อมกับได้ร่ำเรียนวิชาอาคมคงกระพันต่อศาสตราอาวุธ สมัยนั้น
เวลาต่อมาเกิดภาวะฟ้าฝนไม่ตกตามฤดูกาลติดต่อกันเป็นเวลา 3-4 ปี ราษฎรอัตคัดขาดแคลนอาหาร ด้วยความจำเป็นชาวบ้านพากันเดินออกจากบ้านเข้าป่าไปหาขุดหัวเผือก มัน กลอย มาต้มแกง กินกันจนมีคำเล่าลือกันว่าผู้ใดบ้านหลังมีหม้อข้าว (แช่ข้าว) หัวค่ำต้องเอาไปซ่อนไว้ในหัวนอน มิฉะนั้นถูกขโมยแอบลักเอาหม้อข้าวแช่ไว้ตอนเผลอนอนหลับไป เสียงว่าขโมยที่จะไปแอบลักหม้อข้าวแช่ ชอบเจ้าของนอนหลับกรนเสียงดัง ๆ เช่นนี้ลักเอาง่ายมาก และปลอดภัยด้วยเพราะเจ้าของมันหลับกรน กว่าจะรู้นอนหลับตื่นขึ้นมา หม้อข้าวที่แช่ไว้นั้นมีอันตรายขโมยลักเอาไปเสียแล้ว
อยู่มาวันหนึ่ง เป็นปี พ.ศ. 2456 มีหน้อยเป็งเป็นหัวหน้า ไปชักชวนหน้อยขี้ลัก หน้อยอ้ายโอ๋ง และหนานคำเวมาพร้อมหารือว่า ใช้ผ้านุ่งสีดำปึก เย็บไล่สำหรับใส่ข้าวเปลือกคนละถุงติดตัวไปขอข้าวที่บ้านต๊าวคำ ตรงบ้านสันป่าป่าง สมัย หนานคำเวถามว่าขอไม่ได้จะทำอย่างไร ส่วนหน้อยเป็งพูดว่าข้าจะขึ้นทางหน้าบ้านต๊าวคำ หื้อหน้อยขี้ลักขึ้นบนหลองข้าวตักเอาข้าวใส่ไต้ ส่วนหน้อยอ้ายโอ๋ง ถือมีดดาบเฝ้าดูต้นทาง (ส่วนหนานคำเว) เป็นขี้แขะ บอกคำปฏิเสธไม่ยอมร่วมทีมด้วย ทั้ง 3 คนออกเดินทางจากบ้าวจัว ตรงไปที่บ้านต๊าวคำแดง ปรากฏว่าหน้อยเป็งจะพูดอ้อนวอนปานใด ต๊าวคำแดงก็ไม่ยอมส่วนหน้อยขี้ลักขึ้นหลองข้าวตักเอาข้าวใส่ไต้ ส่วนหน้อยขันแอบฟังอยู่ข้างฝา จึงสะพายมีดดาบ 2 เล่ม ลงทางหลังบ้านคอดใต้ถุนบ้านเพื่อไปเฝ้าดูข้าว ได้ยินเสียงมีผู้คนตักข้าวใส่ไต้หน้อยขี้ลักได้ยินเสียงร้องเรียกให้ลงจากหลองข้าวพร้อมด้วยแบกไต้ข้าว มือขวาถือมีดดาบไว้ป้องกันตัวลงจากหลองข้าวแลเห็นหน้อยขันยืนจ้องดูอยู่ จึงเกิดการต่อสู้กันขึ้นใช้มีดดาบฟาดฟันกัน มีดดาบของหน้อยขี้ลักฟันไปถูกมีดดาบของหน้อยขันตรงด้ามมีดดาบของหน้อยขี้ลักหักคาด้ามดาบของหน้อยขัน หน้อยขี้ลักเสียท่าถูกหน้อยขันฟันตรงท้องเป็นแผลเหวอะหวะ ไส้ของหน้อยขี้ลักไหลออกมาหน้อยขี้ลักส่งเสียงร้องไห้ หน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋งได้มาช่วยเอาลำไส้ของหน้อยขี้ลักยัดใส่เข้าไปในท้องแล้วเอาผ้าขาวมาพันพากันอุ้มเอาหน้อยขี้ลัก หนีออกไปทางทิศตะวันตกข้ามลำห้วยสมัยไปถึงต้นไม้ใหญ่ หน้อยขี้ลักไม่ไหวสิ้นใจตาย หน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋งจึงพากันหลบหนีเข้าป่าเพื่อไปซ่อนตัวหนีความผิด เหตุการณ์นี้ข่าวไปถึงอำเภอ อำเภอส่งข่าวไปถึงพระยาเจ้าเมือง ได้ส่งเจ้าหน้าที่ติดตามนำเอาตัวคนร้ายไปดำเนินคดี ต๊าวแสน อินต๊ะได้ติดตามไปเกลี้ยกล่อมหน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋ง ส่งถึงเจ้าเมืองลำปางเพื่อดำเนินคดี
พอเจ้าบุญทวงค์วงมานิตย์ เจ้าผู้ครองนครลำปาง ได้บัญชาแต่งตั้งให้ต๊าวแสน อินต๊ะ เป็นขุนมือปราบโจรผู้ร้ายแต่ ต๊าวแสน อินต๊ะ ให้แต่งตั้งขุนสมัยธนกิจ ทินวัง ตำบลสมัยได้รับยกฐานะสูงเป็นขุนสมัยคนที่ 1 คนที่ 2 แต่งตั้งให้พ่อขุนสมัยนิคมบำรุง ได้ทำหน้าที่ในการปกครองตำบลสมัยและท่านได้ทำความดีความชอบตลอดความสามัคคีปรองดองและความสามัคคีในตำบลสมัยให้มีความสุข ความเจริญ เสมอมาตราบเท่าในปัจจุบันนี้
อาณาเขต
พื้นที่ความรับผิดชอบที่อยู่ในเขต องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย มีทั้งหมด 148.56 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 92,484 ไร่ อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ ไปทางทิศตะวันออกเป็นระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอใกล้เคียง ดังนี้
ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.แม่กัวะ อ.สบปราบ และต.สันดอนแก้ว อ.แม่ทะ จ.ลำปาง
ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.ป่าสัก อ.วังชิ้น จ.แพร่ และต.สบปราบ อ.สบปราบ จ.ลำปาง
ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.แม่พุง อ.วังชิ้น จ.แพร่
ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.สบปราบ อ.สบปราบ จ.ลำปาง
ชื่อไฟล์ :
แผนที่องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย
แผนที่องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
แผนที่องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย
../add_file/
แผนที่องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย
ชื่อไฟล์ :
สถานที่ท่องเที่ยว2234dsfasf
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
สถานที่ท่องเที่ยว2234dsfasf
../add_file/
สถานที่ท่องเที่ยว2234dsfasf
ชื่อไฟล์ : ทดสอบ
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ทดสอบ../add_file/ทดสอบ
ชื่อไฟล์ :
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล.pdf
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล.pdf" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล.pdf
../add_file/
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล.pdf
ชื่อไฟล์ :
ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของเรา
ไม่ว่าท่านจะเคยได้ยินอะไรเกี่ยวกับการจัดทำเว็บไซต์...
เราพร้อมที่จะพัฒนาให้ระบบทำงานได้ดี และรวดเร็วง่ายสำหรับทุกคน
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของเรา
ไม่ว่าท่านจะเคยได้ยินอะไรเกี่ยวกับการจัดทำเว็บไซต์...
เราพร้อมที่จะพัฒนาให้ระบบทำงานได้ดี และรวดเร็วง่ายสำหรับทุกคน
../add_file/
ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของเรา
ไม่ว่าท่านจะเคยได้ยินอะไรเกี่ยวกับการจัดทำเว็บไซต์...
เราพร้อมที่จะพัฒนาให้ระบบทำงานได้ดี และรวดเร็วง่ายสำหรับทุกคน
ชื่อไฟล์ :
ข้อมูลสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
หน่วยงานภายใน
ข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
หน่วยงานภายใน
ข้อมูลข่าวสาร
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
ข้อมูลสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
หน่วยงานภายใน
ข้อมูลข่าวสาร
../add_file/
ข้อมูลสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
หน่วยงานภายใน
ข้อมูลข่าวสาร
ชื่อไฟล์ : XZgQ3veThu54450.jpg
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์ : รอปรับปรุง
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: รอปรับปรุง../add_file/รอปรับปรุง
ชื่อไฟล์ :
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
../add_file/
ชื่อไฟล์ :
การพัฒนาระบบของเรา
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
การพัฒนาระบบของเรา
../add_file/
การพัฒนาระบบของเรา
ชื่อไฟล์ : รอปรับปรุงข้อมูล...
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: รอปรับปรุงข้อมูล...
../add_file/ รอปรับปรุงข้อมูล...
ชื่อไฟล์ : อีเมลล์ :
เบอร์โทร :
การดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคล
- การวางแผนกำลังคน พิจารณาจัดระเบียบงานและโครงสร้าง การแบ่งส่วนราชการของ อบต. การปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง การควบคุณมการใช้อัตรากำลังของพนักงานส่วนตำบล
- การสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง การเลื่อนตำแหน่ง การประเมินบุคคลและผลงาน การโอน ย้าย การออกจากราชการ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- การดำเนินการด้านทะเบียนประวัติและบำเหน็จบำนาญ การลาประเภทต่าง ๆ การขอพระราชทานเครื่องราชฯ การออกหนังสือสำคัญ และหนังสือรับรองเพื่อสิทธิต่างๆ การขอบำเหน็จบำนาญ เงินทำขวัญ เงินช่วยเหลือ
- การจัดทำแผนกลยุทธของ อบต. และแผนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ การตรวจสอบสืบสวนหาข้อเท็จจริง ร้องเรียน แจ้งเบาะแส ดำเนินการทางวินัยพิจารณาดำเนินการเกี่ยวกับอุทธรณ์ การวางแผนเสริมสร้างและปรับปรุงระบบงานวินัย การรักาาวินัยและจรรยาของพนักงานส่วนตำบลให้สดอคล้องกับประกาศคุณะรรม จริยธรรม และจรรยาวิชาชนองค์กร
- การดำเนินการด้านการฝึกอบรม
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: อีเมลล์ :
เบอร์โทร :
การดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคล
- การวางแผนกำลังคน พิจารณาจัดระเบียบงานและโครงสร้าง การแบ่งส่วนราชการของ อบต. การปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง การควบคุณมการใช้อัตรากำลังของพนักงานส่วนตำบล
- การสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง การเลื่อนตำแหน่ง การประเมินบุคคลและผลงาน การโอน ย้าย การออกจากราชการ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- การดำเนินการด้านทะเบียนประวัติและบำเหน็จบำนาญ การลาประเภทต่าง ๆ การขอพระราชทานเครื่องราชฯ การออกหนังสือสำคัญ และหนังสือรับรองเพื่อสิทธิต่างๆ การขอบำเหน็จบำนาญ เงินทำขวัญ เงินช่วยเหลือ
- การจัดทำแผนกลยุทธของ อบต. และแผนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ การตรวจสอบสืบสวนหาข้อเท็จจริง ร้องเรียน แจ้งเบาะแส ดำเนินการทางวินัยพิจารณาดำเนินการเกี่ยวกับอุทธรณ์ การวางแผนเสริมสร้างและปรับปรุงระบบงานวินัย การรักาาวินัยและจรรยาของพนักงานส่วนตำบลให้สดอคล้องกับประกาศคุณะรรม จริยธรรม และจรรยาวิชาชนองค์กร
- การดำเนินการด้านการฝึกอบรม../add_file/อีเมลล์ :
เบอร์โทร :
การดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคล
- การวางแผนกำลังคน พิจารณาจัดระเบียบงานและโครงสร้าง การแบ่งส่วนราชการของ อบต. การปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง การควบคุณมการใช้อัตรากำลังของพนักงานส่วนตำบล
- การสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง การเลื่อนตำแหน่ง การประเมินบุคคลและผลงาน การโอน ย้าย การออกจากราชการ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- การดำเนินการด้านทะเบียนประวัติและบำเหน็จบำนาญ การลาประเภทต่าง ๆ การขอพระราชทานเครื่องราชฯ การออกหนังสือสำคัญ และหนังสือรับรองเพื่อสิทธิต่างๆ การขอบำเหน็จบำนาญ เงินทำขวัญ เงินช่วยเหลือ
- การจัดทำแผนกลยุทธของ อบต. และแผนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ การตรวจสอบสืบสวนหาข้อเท็จจริง ร้องเรียน แจ้งเบาะแส ดำเนินการทางวินัยพิจารณาดำเนินการเกี่ยวกับอุทธรณ์ การวางแผนเสริมสร้างและปรับปรุงระบบงานวินัย การรักาาวินัยและจรรยาของพนักงานส่วนตำบลให้สดอคล้องกับประกาศคุณะรรม จริยธรรม และจรรยาวิชาชนองค์กร
- การดำเนินการด้านการฝึกอบรม
ชื่อไฟล์ :
ประชาสัมพันธ์ แหล่้งท่องเที่ยว น้ำตกครกอีหล้า
น้ำตกครกอีหล้า ดอยผีบ้า ตั้งอยู่ที่ หมู่ 4 บ้านอุมลอง ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง ห่างจากหมู่บ้านประมาณ 10 กฺิโลเมตร
ประชาสัมพันธ์ แหล่้งท่องเที่ยว พระธาตุม่อนทันใจ
วัดพระธาตุม่อนทันใจ ตั้งอยู่บริเวณ หมู่ 4 บ้านอุมลอง หมู่ 8 บ้านป่าไผ่พัฒนา
ประชาสัมพันธ์ แหล่้งท่องเที่ยว น้ำตกครกอีหล้า
น้ำตกครกอีหล้า ดอยผีบ้า ตั้งอยู่ที่ หมู่ 4 บ้านอุมลอง ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง ห่างจากหมู่บ้านประมาณ 10 กฺิโลเมตร
ประชาสัมพันธ์ แหล่้งท่องเที่ยว พระธาตุม่อนทันใจ
วัดพระธาตุม่อนทันใจ ตั้งอยู่บริเวณ หมู่ 4 บ้านอุมลอง หมู่ 8 บ้านป่าไผ่พัฒนา
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
ประชาสัมพันธ์ แหล่้งท่องเที่ยว น้ำตกครกอีหล้า
น้ำตกครกอีหล้า ดอยผีบ้า ตั้งอยู่ที่ หมู่ 4 บ้านอุมลอง ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง ห่างจากหมู่บ้านประมาณ 10 กฺิโลเมตร
ประชาสัมพันธ์ แหล่้งท่องเที่ยว พระธาตุม่อนทันใจ
วัดพระธาตุม่อนทันใจ ตั้งอยู่บริเวณ หมู่ 4 บ้านอุมลอง หมู่ 8 บ้านป่าไผ่พัฒนา
../add_file/
ประชาสัมพันธ์ แหล่้งท่องเที่ยว น้ำตกครกอีหล้า
น้ำตกครกอีหล้า ดอยผีบ้า ตั้งอยู่ที่ หมู่ 4 บ้านอุมลอง ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง ห่างจากหมู่บ้านประมาณ 10 กฺิโลเมตร
ประชาสัมพันธ์ แหล่้งท่องเที่ยว พระธาตุม่อนทันใจ
วัดพระธาตุม่อนทันใจ ตั้งอยู่บริเวณ หมู่ 4 บ้านอุมลอง หมู่ 8 บ้านป่าไผ่พัฒนา
ชื่อไฟล์ :
ข้อมูลทั่วไปของตำบล
1. สภาพทั่วไป
1.1 ที่ตั้ง
องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ตั้งอยู่เลขที่ 113 หมู่ 3 ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ ประมาณ 4.5 กิโลเมตร
1.2 เนื้อที่
มีพื้นที่ประมาณ 148.56 ตารางกิโลเมตร (92,484 ไร่)
1.3 ภูมิประเทศ
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอข้างเคียง ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่กัวะ อำเภอสบปราบ และตำบลสันดอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง
- ทิศใต้ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลป่าสัก อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ และ ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่พุง อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่
- ทิศตะวันตก ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง
1.4 จำนวนหมู่บ้าน 13 หมู่บ้าน
จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. มีจำนวน 13 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสมัย(หมู่ที่ 1) บ้านน้ำหลง(หมู่ที่ 2) บ้านจัว(หมู่ที่ 3) บ้านอุมลอง(หมู่ที่ 4) บ้านเด่น(หมู่ที่ 5) บ้านจัวใต้(หมู่ที่ 6) บ้านสมัยชัย(หมู่ที่ 7) บ้านป่าไผ่พัฒนา(หมู่ที่ 8) บ้านจัวกลาง(หมู่ที่ 9) บ้านจัวสามัคคี(หมู่ที่ 10) บ้านสมัยเสรี(หมู่ที่ 11) บ้านน้ำหลงสันติสุข (หมู่ที่ 12) และบ้านเด่นนภา(หมู่ที่ 13)
1.5 จำนวนประชากรและจำนวนครัวเรือน
จำนวนประชากร รวมทั้งสิ้น 7,469 คน โดยแยกเป็น ชาย 3,757 คน หญิง 3,712 คน มีจำนวนครัวเรือน 1,938 ครัวเรือน
2. สภาพทางเศรษฐกิจ
2.1 อาชีพ
ประชากรในตำบลสมัย ส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เพื่อจำหน่ายและบริโภคเป็นอาชีพหลัก อาชีพรอง ได้แก่ รับจ้าง และค้าขาย โดย
- การเลี้ยงสัตว์ จะเลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน เพื่อการบริโภค และเพื่อการจำหน่าย สัตว์ที่นิยมเลี้ยง ได้แก่ โค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ ปลา สำหรับกระบือ เป็ด ไก่ จะเลี้ยงแบบธรรมชาติโดยปล่อยให้สัตว์หากินเองตามทุ่งหญ้า
- คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว น้อยหน่า มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง
- แหล่งน้ำที่ใช้ในการเพาะปลูก คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ
- หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ได้แก่ ปั๊มน้ำมันและก๊าซ 2 แห่ง และโรงสีข้าว 14 แห่ง
3. สภาพทางสังคม
3.1 การศึกษา
- โรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 แห่ง
1. โรงเรียนชุมชนบ้านจัววิทยา
- อนุบาล, ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6
- มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 (ขยายโอกาส)
2. โรงเรียนบ้านอุมลอง
3. โรงเรียนบ้านน้ำหลง
4. โรงเรียนบ้านเด่น
5. โรงเรียนบ้านสมัย
- โรงเรียนอาชีวศึกษา - แห่ง
- ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน 13 แห่ง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5 แห่ง
1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสมัย
2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหลง
3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจัว
4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดอุมลอง
5. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์บ้านเด่น
- หอกระจายข่าวในหมู่บ้านและเสียงตามสาย 13 แห่ง
3.2 สถาบันและองค์การทางศาสนา
- วัด/สำนักสงฆ์ มีจำนวน 5 แห่ง คือ
1. วัดสมัยหลวง (ม.1 บ้านสมัย)
2. วัดน้ำหลง (ม.2 บ้านน้ำหลง)
3. วัดบ้านจัว (ม.3 บ้านจัว)
4. วัดอุมลอง (ม.4 บ้านอุมลอง)
5. วัดสมัยชัย (ม.7 บ้านสมัยชัย)
- มัสยิด - แห่ง
- ศาลเจ้า - แห่ง
- โบสถ์ - แห่ง
- อนุสาวรีย์ - แห่ง
3.3 การสาธารณสุข
- สถานีอนามัยประจำตำบล/หมู่บ้าน 1 แห่ง
- ศูนย์สาธารณสุขหมู่บ้านชุมชน (ศส.มช.) 13 แห่ง
3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- สถานีตำรวจชุมชน 1 แห่ง
- อบต. จัดตั้งศูนย์ อปพร. 1 แห่ง
4. การบริการพื้นฐาน
4.1 การคมนาคม
- การคมนาคม และขนส่ง จากตัวอำเภอสู่ตำบลสมัยใช้เส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 32
- การติดต่อระหว่างหมู่บ้านในตำบล ทุกหมู่บ้านมีถนนที่ใช้ในการคมนาคมในทุกฤดูกาล โดยบางช่วงเป็นถนนลูกรังและบางช่วงเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก
4.2 การโทรคมนาคม
- ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข - แห่ง
- สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ - แห่ง
4.3 ระบบประปาหมู่บ้าน
องค์การบริหารส่วนตำบลสมัยได้รับการถ่ายโอนภารกิจและรับผิดชอบในการบริหารกิจการประปาหมู่บ้านจำนวน 1 แห่ง
4.4 แหล่งน้ำธรรมชาติ
- ลำน้ำ , ลำห้วย 4 แห่ง คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ
- อ่างเก็บน้ำ 4 แห่ง คือ อ่างเก็บน้ำห้วยสมัย อ่างเก็บน้ำห้วยหลวง อ่างเก็บน้ำห้วยแม่อุมลอง และอ่างเก็บน้ำห้วยแม่สะ
4.5 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝาย 29 แห่ง - ฝายชะลอน้ำ - แห่ง
- บ่อน้ำตื้น 429 แห่ง - บ่อโยก - แห่ง
5. จุดเด่นของพื้นที่
- พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการทำการเกษตร และมีแหล่งน้ำที่ใช้ในการเกษตร
- มีการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน บริโภค และจำหน่าย
- คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง
ข้อมูลทั่วไปของตำบล
1. สภาพทั่วไป
1.1 ที่ตั้ง
องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ตั้งอยู่เลขที่ 113 หมู่ 3 ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ ประมาณ 4.5 กิโลเมตร
1.2 เนื้อที่
มีพื้นที่ประมาณ 148.56 ตารางกิโลเมตร (92,484 ไร่)
1.3 ภูมิประเทศ
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอข้างเคียง ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่กัวะ อำเภอสบปราบ และตำบลสันดอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง
- ทิศใต้ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลป่าสัก อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ และ ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่พุง อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่
- ทิศตะวันตก ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง
1.4 จำนวนหมู่บ้าน 13 หมู่บ้าน
จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. มีจำนวน 13 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสมัย(หมู่ที่ 1) บ้านน้ำหลง(หมู่ที่ 2) บ้านจัว(หมู่ที่ 3) บ้านอุมลอง(หมู่ที่ 4) บ้านเด่น(หมู่ที่ 5) บ้านจัวใต้(หมู่ที่ 6) บ้านสมัยชัย(หมู่ที่ 7) บ้านป่าไผ่พัฒนา(หมู่ที่ 8) บ้านจัวกลาง(หมู่ที่ 9) บ้านจัวสามัคคี(หมู่ที่ 10) บ้านสมัยเสรี(หมู่ที่ 11) บ้านน้ำหลงสันติสุข (หมู่ที่ 12) และบ้านเด่นนภา(หมู่ที่ 13)
1.5 จำนวนประชากรและจำนวนครัวเรือน
จำนวนประชากร รวมทั้งสิ้น 7,469 คน โดยแยกเป็น ชาย 3,757 คน หญิง 3,712 คน มีจำนวนครัวเรือน 1,938 ครัวเรือน
2. สภาพทางเศรษฐกิจ
2.1 อาชีพ
ประชากรในตำบลสมัย ส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เพื่อจำหน่ายและบริโภคเป็นอาชีพหลัก อาชีพรอง ได้แก่ รับจ้าง และค้าขาย โดย
- การเลี้ยงสัตว์ จะเลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน เพื่อการบริโภค และเพื่อการจำหน่าย สัตว์ที่นิยมเลี้ยง ได้แก่ โค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ ปลา สำหรับกระบือ เป็ด ไก่ จะเลี้ยงแบบธรรมชาติโดยปล่อยให้สัตว์หากินเองตามทุ่งหญ้า
- คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว น้อยหน่า มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง
- แหล่งน้ำที่ใช้ในการเพาะปลูก คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ
- หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ได้แก่ ปั๊มน้ำมันและก๊าซ 2 แห่ง และโรงสีข้าว 14 แห่ง
3. สภาพทางสังคม
3.1 การศึกษา
- โรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 แห่ง
1. โรงเรียนชุมชนบ้านจัววิทยา
- อนุบาล, ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6
- มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 (ขยายโอกาส)
2. โรงเรียนบ้านอุมลอง
3. โรงเรียนบ้านน้ำหลง
4. โรงเรียนบ้านเด่น
5. โรงเรียนบ้านสมัย
- โรงเรียนอาชีวศึกษา - แห่ง
- ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน 13 แห่ง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5 แห่ง
1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสมัย
2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหลง
3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจัว
4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดอุมลอง
5. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์บ้านเด่น
- หอกระจายข่าวในหมู่บ้านและเสียงตามสาย 13 แห่ง
3.2 สถาบันและองค์การทางศาสนา
- วัด/สำนักสงฆ์ มีจำนวน 5 แห่ง คือ
1. วัดสมัยหลวง (ม.1 บ้านสมัย)
2. วัดน้ำหลง (ม.2 บ้านน้ำหลง)
3. วัดบ้านจัว (ม.3 บ้านจัว)
4. วัดอุมลอง (ม.4 บ้านอุมลอง)
5. วัดสมัยชัย (ม.7 บ้านสมัยชัย)
- มัสยิด - แห่ง
- ศาลเจ้า - แห่ง
- โบสถ์ - แห่ง
- อนุสาวรีย์ - แห่ง
3.3 การสาธารณสุข
- สถานีอนามัยประจำตำบล/หมู่บ้าน 1 แห่ง
- ศูนย์สาธารณสุขหมู่บ้านชุมชน (ศส.มช.) 13 แห่ง
3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- สถานีตำรวจชุมชน 1 แห่ง
- อบต. จัดตั้งศูนย์ อปพร. 1 แห่ง
4. การบริการพื้นฐาน
4.1 การคมนาคม
- การคมนาคม และขนส่ง จากตัวอำเภอสู่ตำบลสมัยใช้เส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 32
- การติดต่อระหว่างหมู่บ้านในตำบล ทุกหมู่บ้านมีถนนที่ใช้ในการคมนาคมในทุกฤดูกาล โดยบางช่วงเป็นถนนลูกรังและบางช่วงเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก
4.2 การโทรคมนาคม
- ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข - แห่ง
- สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ - แห่ง
4.3 ระบบประปาหมู่บ้าน
องค์การบริหารส่วนตำบลสมัยได้รับการถ่ายโอนภารกิจและรับผิดชอบในการบริหารกิจการประปาหมู่บ้านจำนวน 1 แห่ง
4.4 แหล่งน้ำธรรมชาติ
- ลำน้ำ , ลำห้วย 4 แห่ง คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ
- อ่างเก็บน้ำ 4 แห่ง คือ อ่างเก็บน้ำห้วยสมัย อ่างเก็บน้ำห้วยหลวง อ่างเก็บน้ำห้วยแม่อุมลอง และอ่างเก็บน้ำห้วยแม่สะ
4.5 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝาย 29 แห่ง - ฝายชะลอน้ำ - แห่ง
- บ่อน้ำตื้น 429 แห่ง - บ่อโยก - แห่ง
5. จุดเด่นของพื้นที่
- พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการทำการเกษตร และมีแหล่งน้ำที่ใช้ในการเกษตร
- มีการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน บริโภค และจำหน่าย
- คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
ข้อมูลทั่วไปของตำบล
1. สภาพทั่วไป
1.1 ที่ตั้ง
องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ตั้งอยู่เลขที่ 113 หมู่ 3 ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ ประมาณ 4.5 กิโลเมตร
1.2 เนื้อที่
มีพื้นที่ประมาณ 148.56 ตารางกิโลเมตร (92,484 ไร่)
1.3 ภูมิประเทศ
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอข้างเคียง ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่กัวะ อำเภอสบปราบ และตำบลสันดอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง
- ทิศใต้ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลป่าสัก อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ และ ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่พุง อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่
- ทิศตะวันตก ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง
1.4 จำนวนหมู่บ้าน 13 หมู่บ้าน
จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. มีจำนวน 13 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสมัย(หมู่ที่ 1) บ้านน้ำหลง(หมู่ที่ 2) บ้านจัว(หมู่ที่ 3) บ้านอุมลอง(หมู่ที่ 4) บ้านเด่น(หมู่ที่ 5) บ้านจัวใต้(หมู่ที่ 6) บ้านสมัยชัย(หมู่ที่ 7) บ้านป่าไผ่พัฒนา(หมู่ที่ 8) บ้านจัวกลาง(หมู่ที่ 9) บ้านจัวสามัคคี(หมู่ที่ 10) บ้านสมัยเสรี(หมู่ที่ 11) บ้านน้ำหลงสันติสุข (หมู่ที่ 12) และบ้านเด่นนภา(หมู่ที่ 13)
1.5 จำนวนประชากรและจำนวนครัวเรือน
จำนวนประชากร รวมทั้งสิ้น 7,469 คน โดยแยกเป็น ชาย 3,757 คน หญิง 3,712 คน มีจำนวนครัวเรือน 1,938 ครัวเรือน
2. สภาพทางเศรษฐกิจ
2.1 อาชีพ
ประชากรในตำบลสมัย ส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เพื่อจำหน่ายและบริโภคเป็นอาชีพหลัก อาชีพรอง ได้แก่ รับจ้าง และค้าขาย โดย
- การเลี้ยงสัตว์ จะเลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน เพื่อการบริโภค และเพื่อการจำหน่าย สัตว์ที่นิยมเลี้ยง ได้แก่ โค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ ปลา สำหรับกระบือ เป็ด ไก่ จะเลี้ยงแบบธรรมชาติโดยปล่อยให้สัตว์หากินเองตามทุ่งหญ้า
- คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว น้อยหน่า มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง
- แหล่งน้ำที่ใช้ในการเพาะปลูก คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ
- หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ได้แก่ ปั๊มน้ำมันและก๊าซ 2 แห่ง และโรงสีข้าว 14 แห่ง
3. สภาพทางสังคม
3.1 การศึกษา
- โรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 แห่ง
1. โรงเรียนชุมชนบ้านจัววิทยา
- อนุบาล, ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6
- มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 (ขยายโอกาส)
2. โรงเรียนบ้านอุมลอง
3. โรงเรียนบ้านน้ำหลง
4. โรงเรียนบ้านเด่น
5. โรงเรียนบ้านสมัย
- โรงเรียนอาชีวศึกษา - แห่ง
- ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน 13 แห่ง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5 แห่ง
1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสมัย
2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหลง
3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจัว
4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดอุมลอง
5. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์บ้านเด่น
- หอกระจายข่าวในหมู่บ้านและเสียงตามสาย 13 แห่ง
3.2 สถาบันและองค์การทางศาสนา
- วัด/สำนักสงฆ์ มีจำนวน 5 แห่ง คือ
1. วัดสมัยหลวง (ม.1 บ้านสมัย)
2. วัดน้ำหลง (ม.2 บ้านน้ำหลง)
3. วัดบ้านจัว (ม.3 บ้านจัว)
4. วัดอุมลอง (ม.4 บ้านอุมลอง)
5. วัดสมัยชัย (ม.7 บ้านสมัยชัย)
- มัสยิด - แห่ง
- ศาลเจ้า - แห่ง
- โบสถ์ - แห่ง
- อนุสาวรีย์ - แห่ง
3.3 การสาธารณสุข
- สถานีอนามัยประจำตำบล/หมู่บ้าน 1 แห่ง
- ศูนย์สาธารณสุขหมู่บ้านชุมชน (ศส.มช.) 13 แห่ง
3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- สถานีตำรวจชุมชน 1 แห่ง
- อบต. จัดตั้งศูนย์ อปพร. 1 แห่ง
4. การบริการพื้นฐาน
4.1 การคมนาคม
- การคมนาคม และขนส่ง จากตัวอำเภอสู่ตำบลสมัยใช้เส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 32
- การติดต่อระหว่างหมู่บ้านในตำบล ทุกหมู่บ้านมีถนนที่ใช้ในการคมนาคมในทุกฤดูกาล โดยบางช่วงเป็นถนนลูกรังและบางช่วงเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก
4.2 การโทรคมนาคม
- ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข - แห่ง
- สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ - แห่ง
4.3 ระบบประปาหมู่บ้าน
องค์การบริหารส่วนตำบลสมัยได้รับการถ่ายโอนภารกิจและรับผิดชอบในการบริหารกิจการประปาหมู่บ้านจำนวน 1 แห่ง
4.4 แหล่งน้ำธรรมชาติ
- ลำน้ำ , ลำห้วย 4 แห่ง คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ
- อ่างเก็บน้ำ 4 แห่ง คือ อ่างเก็บน้ำห้วยสมัย อ่างเก็บน้ำห้วยหลวง อ่างเก็บน้ำห้วยแม่อุมลอง และอ่างเก็บน้ำห้วยแม่สะ
4.5 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝาย 29 แห่ง - ฝายชะลอน้ำ - แห่ง
- บ่อน้ำตื้น 429 แห่ง - บ่อโยก - แห่ง
5. จุดเด่นของพื้นที่
- พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการทำการเกษตร และมีแหล่งน้ำที่ใช้ในการเกษตร
- มีการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน บริโภค และจำหน่าย
- คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง
../add_file/
ข้อมูลทั่วไปของตำบล
1. สภาพทั่วไป
1.1 ที่ตั้ง
องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ตั้งอยู่เลขที่ 113 หมู่ 3 ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ ประมาณ 4.5 กิโลเมตร
1.2 เนื้อที่
มีพื้นที่ประมาณ 148.56 ตารางกิโลเมตร (92,484 ไร่)
1.3 ภูมิประเทศ
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอข้างเคียง ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่กัวะ อำเภอสบปราบ และตำบลสันดอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง
- ทิศใต้ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลป่าสัก อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ และ ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่พุง อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่
- ทิศตะวันตก ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง
1.4 จำนวนหมู่บ้าน 13 หมู่บ้าน
จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. มีจำนวน 13 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสมัย(หมู่ที่ 1) บ้านน้ำหลง(หมู่ที่ 2) บ้านจัว(หมู่ที่ 3) บ้านอุมลอง(หมู่ที่ 4) บ้านเด่น(หมู่ที่ 5) บ้านจัวใต้(หมู่ที่ 6) บ้านสมัยชัย(หมู่ที่ 7) บ้านป่าไผ่พัฒนา(หมู่ที่ 8) บ้านจัวกลาง(หมู่ที่ 9) บ้านจัวสามัคคี(หมู่ที่ 10) บ้านสมัยเสรี(หมู่ที่ 11) บ้านน้ำหลงสันติสุข (หมู่ที่ 12) และบ้านเด่นนภา(หมู่ที่ 13)
1.5 จำนวนประชากรและจำนวนครัวเรือน
จำนวนประชากร รวมทั้งสิ้น 7,469 คน โดยแยกเป็น ชาย 3,757 คน หญิง 3,712 คน มีจำนวนครัวเรือน 1,938 ครัวเรือน
2. สภาพทางเศรษฐกิจ
2.1 อาชีพ
ประชากรในตำบลสมัย ส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เพื่อจำหน่ายและบริโภคเป็นอาชีพหลัก อาชีพรอง ได้แก่ รับจ้าง และค้าขาย โดย
- การเลี้ยงสัตว์ จะเลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน เพื่อการบริโภค และเพื่อการจำหน่าย สัตว์ที่นิยมเลี้ยง ได้แก่ โค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ ปลา สำหรับกระบือ เป็ด ไก่ จะเลี้ยงแบบธรรมชาติโดยปล่อยให้สัตว์หากินเองตามทุ่งหญ้า
- คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว น้อยหน่า มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง
- แหล่งน้ำที่ใช้ในการเพาะปลูก คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ
- หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ได้แก่ ปั๊มน้ำมันและก๊าซ 2 แห่ง และโรงสีข้าว 14 แห่ง
3. สภาพทางสังคม
3.1 การศึกษา
- โรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 แห่ง
1. โรงเรียนชุมชนบ้านจัววิทยา
- อนุบาล, ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6
- มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 (ขยายโอกาส)
2. โรงเรียนบ้านอุมลอง
3. โรงเรียนบ้านน้ำหลง
4. โรงเรียนบ้านเด่น
5. โรงเรียนบ้านสมัย
- โรงเรียนอาชีวศึกษา - แห่ง
- ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน 13 แห่ง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5 แห่ง
1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสมัย
2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหลง
3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจัว
4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดอุมลอง
5. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์บ้านเด่น
- หอกระจายข่าวในหมู่บ้านและเสียงตามสาย 13 แห่ง
3.2 สถาบันและองค์การทางศาสนา
- วัด/สำนักสงฆ์ มีจำนวน 5 แห่ง คือ
1. วัดสมัยหลวง (ม.1 บ้านสมัย)
2. วัดน้ำหลง (ม.2 บ้านน้ำหลง)
3. วัดบ้านจัว (ม.3 บ้านจัว)
4. วัดอุมลอง (ม.4 บ้านอุมลอง)
5. วัดสมัยชัย (ม.7 บ้านสมัยชัย)
- มัสยิด - แห่ง
- ศาลเจ้า - แห่ง
- โบสถ์ - แห่ง
- อนุสาวรีย์ - แห่ง
3.3 การสาธารณสุข
- สถานีอนามัยประจำตำบล/หมู่บ้าน 1 แห่ง
- ศูนย์สาธารณสุขหมู่บ้านชุมชน (ศส.มช.) 13 แห่ง
3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- สถานีตำรวจชุมชน 1 แห่ง
- อบต. จัดตั้งศูนย์ อปพร. 1 แห่ง
4. การบริการพื้นฐาน
4.1 การคมนาคม
- การคมนาคม และขนส่ง จากตัวอำเภอสู่ตำบลสมัยใช้เส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 32
- การติดต่อระหว่างหมู่บ้านในตำบล ทุกหมู่บ้านมีถนนที่ใช้ในการคมนาคมในทุกฤดูกาล โดยบางช่วงเป็นถนนลูกรังและบางช่วงเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก
4.2 การโทรคมนาคม
- ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข - แห่ง
- สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ - แห่ง
4.3 ระบบประปาหมู่บ้าน
องค์การบริหารส่วนตำบลสมัยได้รับการถ่ายโอนภารกิจและรับผิดชอบในการบริหารกิจการประปาหมู่บ้านจำนวน 1 แห่ง
4.4 แหล่งน้ำธรรมชาติ
- ลำน้ำ , ลำห้วย 4 แห่ง คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ
- อ่างเก็บน้ำ 4 แห่ง คือ อ่างเก็บน้ำห้วยสมัย อ่างเก็บน้ำห้วยหลวง อ่างเก็บน้ำห้วยแม่อุมลอง และอ่างเก็บน้ำห้วยแม่สะ
4.5 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝาย 29 แห่ง - ฝายชะลอน้ำ - แห่ง
- บ่อน้ำตื้น 429 แห่ง - บ่อโยก - แห่ง
5. จุดเด่นของพื้นที่
- พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการทำการเกษตร และมีแหล่งน้ำที่ใช้ในการเกษตร
- มีการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน บริโภค และจำหน่าย
- คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง
ชื่อไฟล์ : ข้อมูลทั่วไปของตำบล
1. สภาพทั่วไป
1.1 ที่ตั้ง
องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ตั้งอยู่เลขที่ 113 หมู่ 3 ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ ประมาณ 4.5 กิโลเมตร
1.2 เนื้อที่
มีพื้นที่ประมาณ 148.56 ตารางกิโลเมตร (92,484 ไร่)
1.3 ภูมิประเทศ
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอข้างเคียง ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่กัวะ อำเภอสบปราบ และตำบลสันดอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง
- ทิศใต้ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลป่าสัก อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ และ ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่พุง อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่
- ทิศตะวันตก ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง
1.4 จำนวนหมู่บ้าน 13 หมู่บ้าน
จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. มีจำนวน 13 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสมัย(หมู่ที่ 1) บ้านน้ำหลง(หมู่ที่ 2) บ้านจัว(หมู่ที่ 3) บ้านอุมลอง(หมู่ที่ 4) บ้านเด่น(หมู่ที่ 5) บ้านจัวใต้(หมู่ที่ 6) บ้านสมัยชัย(หมู่ที่ 7) บ้านป่าไผ่พัฒนา(หมู่ที่ 8) บ้านจัวกลาง(หมู่ที่ 9) บ้านจัวสามัคคี(หมู่ที่ 10) บ้านสมัยเสรี(หมู่ที่ 11) บ้านน้ำหลงสันติสุข (หมู่ที่ 12) และบ้านเด่นนภา(หมู่ที่ 13)
1.5 จำนวนประชากรและจำนวนครัวเรือน
จำนวนประชากร รวมทั้งสิ้น 7,198 คน โดยแยกเป็น ชาย 3,595 คน หญิง 3,603 คน มีจำนวนครัวเรือน 2,041 ครัวเรือน
2. สภาพทางเศรษฐกิจ
2.1 อาชีพ
ประชากรในตำบลสมัย ส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เพื่อจำหน่ายและบริโภคเป็นอาชีพหลัก อาชีพรอง ได้แก่ รับจ้าง และค้าขาย โดย
- การเลี้ยงสัตว์ จะเลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน เพื่อการบริโภค และเพื่อการจำหน่าย สัตว์ที่นิยมเลี้ยง ได้แก่ โค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ ปลา สำหรับกระบือ เป็ด ไก่ จะเลี้ยงแบบธรรมชาติโดยปล่อยให้สัตว์หากินเองตามทุ่งหญ้า
- คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว น้อยหน่า มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง
- แหล่งน้ำที่ใช้ในการเพาะปลูก คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ
- หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ได้แก่ ปั๊มน้ำมันและก๊าซ 2 แห่ง และโรงสีข้าว 14 แห่ง
3. สภาพทางสังคม
3.1 การศึกษา
- โรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 แห่ง
1. โรงเรียนชุมชนบ้านจัววิทยา
- อนุบาล, ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6
- มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 (ขยายโอกาส)
2. โรงเรียนบ้านอุมลอง
3. โรงเรียนบ้านน้ำหลง
4. โรงเรียนบ้านเด่น
5. โรงเรียนบ้านสมัย
- โรงเรียนอาชีวศึกษา - แห่ง
- ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน - แห่ง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5 แห่ง
1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสมัย
2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหลง
3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจัว
4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดอุมลอง
5. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์บ้านเด่น
- หอกระจายข่าวในหมู่บ้านและเสียงตามสาย 13 แห่ง
3.2 สถาบันและองค์การทางศาสนา
- วัด/สำนักสงฆ์ มีจำนวน 5 แห่ง คือ
1. วัดสมัยหลวง (ม.1 บ้านสมัย)
2. วัดน้ำหลง (ม.2 บ้านน้ำหลง)
3. วัดบ้านจัว (ม.3 บ้านจัว)
4. วัดอุมลอง (ม.4 บ้านอุมลอง)
5. วัดสมัยชัย (ม.7 บ้านสมัยชัย)
- มัสยิด - แห่ง
- ศาลเจ้า - แห่ง
- โบสถ์ - แห่ง
- อนุสาวรีย์ - แห่ง
3.3 การสาธารณสุข
- สถานีอนามัยประจำตำบล/หมู่บ้าน 1 แห่ง
- ศูนย์สาธารณสุขหมู่บ้านชุมชน (ศส.มช.) 13 แห่ง
3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- สถานีตำรวจชุมชน 1 แห่ง
- อบต. จัดตั้งศูนย์ อปพร. 1 แห่ง
4. การบริการพื้นฐาน
4.1 การคมนาคม
- การคมนาคม และขนส่ง จากตัวอำเภอสู่ตำบลสมัยใช้เส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 32
- การติดต่อระหว่างหมู่บ้านในตำบล ทุกหมู่บ้านมีถนนที่ใช้ในการคมนาคมในทุกฤดูกาล โดยบางช่วงเป็นถนนลูกรังและบางช่วงเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก
4.2 การโทรคมนาคม
- ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข - แห่ง
- สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ - แห่ง
4.3 ระบบประปาหมู่บ้าน
องค์การบริหารส่วนตำบลสมัยได้รับการถ่ายโอนภารกิจและรับผิดชอบในการบริหารกิจการประปาหมู่บ้านจำนวน 1 แห่ง
4.4 แหล่งน้ำธรรมชาติ
- ลำน้ำ , ลำห้วย 4 แห่ง คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ
- อ่างเก็บน้ำ 4 แห่ง คือ อ่างเก็บน้ำห้วยสมัย อ่างเก็บน้ำห้วยหลวง อ่างเก็บน้ำห้วยแม่อุมลอง และอ่างเก็บน้ำห้วยแม่สะ
4.5 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝาย 29 แห่ง - ฝายชะลอน้ำ - แห่ง
- บ่อน้ำตื้น 429 แห่ง - บ่อโยก - แห่ง
5. จุดเด่นของพื้นที่
- พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการทำการเกษตร และมีแหล่งน้ำที่ใช้ในการเกษตร
- มีการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน บริโภค และจำหน่าย
- คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ข้อมูลทั่วไปของตำบล
1. สภาพทั่วไป
1.1 ที่ตั้ง
องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ตั้งอยู่เลขที่ 113 หมู่ 3 ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ ประมาณ 4.5 กิโลเมตร
1.2 เนื้อที่
มีพื้นที่ประมาณ 148.56 ตารางกิโลเมตร (92,484 ไร่)
1.3 ภูมิประเทศ
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอข้างเคียง ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่กัวะ อำเภอสบปราบ และตำบลสันดอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง
- ทิศใต้ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลป่าสัก อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ และ ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่พุง อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่
- ทิศตะวันตก ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง
1.4 จำนวนหมู่บ้าน 13 หมู่บ้าน
จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. มีจำนวน 13 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสมัย(หมู่ที่ 1) บ้านน้ำหลง(หมู่ที่ 2) บ้านจัว(หมู่ที่ 3) บ้านอุมลอง(หมู่ที่ 4) บ้านเด่น(หมู่ที่ 5) บ้านจัวใต้(หมู่ที่ 6) บ้านสมัยชัย(หมู่ที่ 7) บ้านป่าไผ่พัฒนา(หมู่ที่ 8) บ้านจัวกลาง(หมู่ที่ 9) บ้านจัวสามัคคี(หมู่ที่ 10) บ้านสมัยเสรี(หมู่ที่ 11) บ้านน้ำหลงสันติสุข (หมู่ที่ 12) และบ้านเด่นนภา(หมู่ที่ 13)
1.5 จำนวนประชากรและจำนวนครัวเรือน
จำนวนประชากร รวมทั้งสิ้น 7,198 คน โดยแยกเป็น ชาย 3,595 คน หญิง 3,603 คน มีจำนวนครัวเรือน 2,041 ครัวเรือน
2. สภาพทางเศรษฐกิจ
2.1 อาชีพ
ประชากรในตำบลสมัย ส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เพื่อจำหน่ายและบริโภคเป็นอาชีพหลัก อาชีพรอง ได้แก่ รับจ้าง และค้าขาย โดย
- การเลี้ยงสัตว์ จะเลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน เพื่อการบริโภค และเพื่อการจำหน่าย สัตว์ที่นิยมเลี้ยง ได้แก่ โค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ ปลา สำหรับกระบือ เป็ด ไก่ จะเลี้ยงแบบธรรมชาติโดยปล่อยให้สัตว์หากินเองตามทุ่งหญ้า
- คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว น้อยหน่า มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง
- แหล่งน้ำที่ใช้ในการเพาะปลูก คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ
- หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ได้แก่ ปั๊มน้ำมันและก๊าซ 2 แห่ง และโรงสีข้าว 14 แห่ง
3. สภาพทางสังคม
3.1 การศึกษา
- โรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 แห่ง
1. โรงเรียนชุมชนบ้านจัววิทยา
- อนุบาล, ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6
- มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 (ขยายโอกาส)
2. โรงเรียนบ้านอุมลอง
3. โรงเรียนบ้านน้ำหลง
4. โรงเรียนบ้านเด่น
5. โรงเรียนบ้านสมัย
- โรงเรียนอาชีวศึกษา - แห่ง
- ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน - แห่ง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5 แห่ง
1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสมัย
2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหลง
3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจัว
4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดอุมลอง
5. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์บ้านเด่น
- หอกระจายข่าวในหมู่บ้านและเสียงตามสาย 13 แห่ง
3.2 สถาบันและองค์การทางศาสนา
- วัด/สำนักสงฆ์ มีจำนวน 5 แห่ง คือ
1. วัดสมัยหลวง (ม.1 บ้านสมัย)
2. วัดน้ำหลง (ม.2 บ้านน้ำหลง)
3. วัดบ้านจัว (ม.3 บ้านจัว)
4. วัดอุมลอง (ม.4 บ้านอุมลอง)
5. วัดสมัยชัย (ม.7 บ้านสมัยชัย)
- มัสยิด - แห่ง
- ศาลเจ้า - แห่ง
- โบสถ์ - แห่ง
- อนุสาวรีย์ - แห่ง
3.3 การสาธารณสุข
- สถานีอนามัยประจำตำบล/หมู่บ้าน 1 แห่ง
- ศูนย์สาธารณสุขหมู่บ้านชุมชน (ศส.มช.) 13 แห่ง
3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- สถานีตำรวจชุมชน 1 แห่ง
- อบต. จัดตั้งศูนย์ อปพร. 1 แห่ง
4. การบริการพื้นฐาน
4.1 การคมนาคม
- การคมนาคม และขนส่ง จากตัวอำเภอสู่ตำบลสมัยใช้เส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 32
- การติดต่อระหว่างหมู่บ้านในตำบล ทุกหมู่บ้านมีถนนที่ใช้ในการคมนาคมในทุกฤดูกาล โดยบางช่วงเป็นถนนลูกรังและบางช่วงเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก
4.2 การโทรคมนาคม
- ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข - แห่ง
- สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ - แห่ง
4.3 ระบบประปาหมู่บ้าน
องค์การบริหารส่วนตำบลสมัยได้รับการถ่ายโอนภารกิจและรับผิดชอบในการบริหารกิจการประปาหมู่บ้านจำนวน 1 แห่ง
4.4 แหล่งน้ำธรรมชาติ
- ลำน้ำ , ลำห้วย 4 แห่ง คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ
- อ่างเก็บน้ำ 4 แห่ง คือ อ่างเก็บน้ำห้วยสมัย อ่างเก็บน้ำห้วยหลวง อ่างเก็บน้ำห้วยแม่อุมลอง และอ่างเก็บน้ำห้วยแม่สะ
4.5 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝาย 29 แห่ง - ฝายชะลอน้ำ - แห่ง
- บ่อน้ำตื้น 429 แห่ง - บ่อโยก - แห่ง
5. จุดเด่นของพื้นที่
- พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการทำการเกษตร และมีแหล่งน้ำที่ใช้ในการเกษตร
- มีการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน บริโภค และจำหน่าย
- คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง../add_file/ข้อมูลทั่วไปของตำบล
1. สภาพทั่วไป
1.1 ที่ตั้ง
องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ตั้งอยู่เลขที่ 113 หมู่ 3 ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ ประมาณ 4.5 กิโลเมตร
1.2 เนื้อที่
มีพื้นที่ประมาณ 148.56 ตารางกิโลเมตร (92,484 ไร่)
1.3 ภูมิประเทศ
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอข้างเคียง ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่กัวะ อำเภอสบปราบ และตำบลสันดอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง
- ทิศใต้ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลป่าสัก อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ และ ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่พุง อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่
- ทิศตะวันตก ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง
1.4 จำนวนหมู่บ้าน 13 หมู่บ้าน
จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. มีจำนวน 13 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสมัย(หมู่ที่ 1) บ้านน้ำหลง(หมู่ที่ 2) บ้านจัว(หมู่ที่ 3) บ้านอุมลอง(หมู่ที่ 4) บ้านเด่น(หมู่ที่ 5) บ้านจัวใต้(หมู่ที่ 6) บ้านสมัยชัย(หมู่ที่ 7) บ้านป่าไผ่พัฒนา(หมู่ที่ 8) บ้านจัวกลาง(หมู่ที่ 9) บ้านจัวสามัคคี(หมู่ที่ 10) บ้านสมัยเสรี(หมู่ที่ 11) บ้านน้ำหลงสันติสุข (หมู่ที่ 12) และบ้านเด่นนภา(หมู่ที่ 13)
1.5 จำนวนประชากรและจำนวนครัวเรือน
จำนวนประชากร รวมทั้งสิ้น 7,198 คน โดยแยกเป็น ชาย 3,595 คน หญิง 3,603 คน มีจำนวนครัวเรือน 2,041 ครัวเรือน
2. สภาพทางเศรษฐกิจ
2.1 อาชีพ
ประชากรในตำบลสมัย ส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เพื่อจำหน่ายและบริโภคเป็นอาชีพหลัก อาชีพรอง ได้แก่ รับจ้าง และค้าขาย โดย
- การเลี้ยงสัตว์ จะเลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน เพื่อการบริโภค และเพื่อการจำหน่าย สัตว์ที่นิยมเลี้ยง ได้แก่ โค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ ปลา สำหรับกระบือ เป็ด ไก่ จะเลี้ยงแบบธรรมชาติโดยปล่อยให้สัตว์หากินเองตามทุ่งหญ้า
- คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว น้อยหน่า มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง
- แหล่งน้ำที่ใช้ในการเพาะปลูก คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ
- หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ได้แก่ ปั๊มน้ำมันและก๊าซ 2 แห่ง และโรงสีข้าว 14 แห่ง
3. สภาพทางสังคม
3.1 การศึกษา
- โรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 แห่ง
1. โรงเรียนชุมชนบ้านจัววิทยา
- อนุบาล, ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6
- มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 (ขยายโอกาส)
2. โรงเรียนบ้านอุมลอง
3. โรงเรียนบ้านน้ำหลง
4. โรงเรียนบ้านเด่น
5. โรงเรียนบ้านสมัย
- โรงเรียนอาชีวศึกษา - แห่ง
- ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน - แห่ง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5 แห่ง
1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสมัย
2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหลง
3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจัว
4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดอุมลอง
5. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์บ้านเด่น
- หอกระจายข่าวในหมู่บ้านและเสียงตามสาย 13 แห่ง
3.2 สถาบันและองค์การทางศาสนา
- วัด/สำนักสงฆ์ มีจำนวน 5 แห่ง คือ
1. วัดสมัยหลวง (ม.1 บ้านสมัย)
2. วัดน้ำหลง (ม.2 บ้านน้ำหลง)
3. วัดบ้านจัว (ม.3 บ้านจัว)
4. วัดอุมลอง (ม.4 บ้านอุมลอง)
5. วัดสมัยชัย (ม.7 บ้านสมัยชัย)
- มัสยิด - แห่ง
- ศาลเจ้า - แห่ง
- โบสถ์ - แห่ง
- อนุสาวรีย์ - แห่ง
3.3 การสาธารณสุข
- สถานีอนามัยประจำตำบล/หมู่บ้าน 1 แห่ง
- ศูนย์สาธารณสุขหมู่บ้านชุมชน (ศส.มช.) 13 แห่ง
3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- สถานีตำรวจชุมชน 1 แห่ง
- อบต. จัดตั้งศูนย์ อปพร. 1 แห่ง
4. การบริการพื้นฐาน
4.1 การคมนาคม
- การคมนาคม และขนส่ง จากตัวอำเภอสู่ตำบลสมัยใช้เส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 32
- การติดต่อระหว่างหมู่บ้านในตำบล ทุกหมู่บ้านมีถนนที่ใช้ในการคมนาคมในทุกฤดูกาล โดยบางช่วงเป็นถนนลูกรังและบางช่วงเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก
4.2 การโทรคมนาคม
- ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข - แห่ง
- สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ - แห่ง
4.3 ระบบประปาหมู่บ้าน
องค์การบริหารส่วนตำบลสมัยได้รับการถ่ายโอนภารกิจและรับผิดชอบในการบริหารกิจการประปาหมู่บ้านจำนวน 1 แห่ง
4.4 แหล่งน้ำธรรมชาติ
- ลำน้ำ , ลำห้วย 4 แห่ง คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ
- อ่างเก็บน้ำ 4 แห่ง คือ อ่างเก็บน้ำห้วยสมัย อ่างเก็บน้ำห้วยหลวง อ่างเก็บน้ำห้วยแม่อุมลอง และอ่างเก็บน้ำห้วยแม่สะ
4.5 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝาย 29 แห่ง - ฝายชะลอน้ำ - แห่ง
- บ่อน้ำตื้น 429 แห่ง - บ่อโยก - แห่ง
5. จุดเด่นของพื้นที่
- พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการทำการเกษตร และมีแหล่งน้ำที่ใช้ในการเกษตร
- มีการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน บริโภค และจำหน่าย
- คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง
ชื่อไฟล์ :
อีเมลล์ :
เบอร์โทร :
การดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคล
- การวางแผนกำลังคน พิจารณาจัดระเบียบงานและโครงสร้าง การแบ่งส่วนราชการของ อบต. การปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง การควบคุณมการใช้อัตรากำลังของพนักงานส่วนตำบล
- การสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง การเลื่อนตำแหน่ง การประเมินบุคคลและผลงาน การโอน ย้าย การออกจากราชการ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- การดำเนินการด้านทะเบียนประวัติและบำเหน็จบำนาญ การลาประเภทต่าง ๆ การขอพระราชทานเครื่องราชฯ การออกหนังสือสำคัญ และหนังสือรับรองเพื่อสิทธิต่างๆ การขอบำเหน็จบำนาญ เงินทำขวัญ เงินช่วยเหลือ
- การจัดทำแผนกลยุทธของ อบต. และแผนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ การตรวจสอบสืบสวนหาข้อเท็จจริง ร้องเรียน แจ้งเบาะแส ดำเนินการทางวินัยพิจารณาดำเนินการเกี่ยวกับอุทธรณ์ การวางแผนเสริมสร้างและปรับปรุงระบบงานวินัย การรักาาวินัยและจรรยาของพนักงานส่วนตำบลให้สดอคล้องกับประกาศคุณะรรม จริยธรรม และจรรยาวิชาชนองค์กร
- การดำเนินการด้านการฝึกอบรม
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
อีเมลล์ :
เบอร์โทร :
การดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคล
- การวางแผนกำลังคน พิจารณาจัดระเบียบงานและโครงสร้าง การแบ่งส่วนราชการของ อบต. การปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง การควบคุณมการใช้อัตรากำลังของพนักงานส่วนตำบล
- การสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง การเลื่อนตำแหน่ง การประเมินบุคคลและผลงาน การโอน ย้าย การออกจากราชการ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- การดำเนินการด้านทะเบียนประวัติและบำเหน็จบำนาญ การลาประเภทต่าง ๆ การขอพระราชทานเครื่องราชฯ การออกหนังสือสำคัญ และหนังสือรับรองเพื่อสิทธิต่างๆ การขอบำเหน็จบำนาญ เงินทำขวัญ เงินช่วยเหลือ
- การจัดทำแผนกลยุทธของ อบต. และแผนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ การตรวจสอบสืบสวนหาข้อเท็จจริง ร้องเรียน แจ้งเบาะแส ดำเนินการทางวินัยพิจารณาดำเนินการเกี่ยวกับอุทธรณ์ การวางแผนเสริมสร้างและปรับปรุงระบบงานวินัย การรักาาวินัยและจรรยาของพนักงานส่วนตำบลให้สดอคล้องกับประกาศคุณะรรม จริยธรรม และจรรยาวิชาชนองค์กร
- การดำเนินการด้านการฝึกอบรม
../add_file/
อีเมลล์ :
เบอร์โทร :
การดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคล
- การวางแผนกำลังคน พิจารณาจัดระเบียบงานและโครงสร้าง การแบ่งส่วนราชการของ อบต. การปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง การควบคุณมการใช้อัตรากำลังของพนักงานส่วนตำบล
- การสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง การเลื่อนตำแหน่ง การประเมินบุคคลและผลงาน การโอน ย้าย การออกจากราชการ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- การดำเนินการด้านทะเบียนประวัติและบำเหน็จบำนาญ การลาประเภทต่าง ๆ การขอพระราชทานเครื่องราชฯ การออกหนังสือสำคัญ และหนังสือรับรองเพื่อสิทธิต่างๆ การขอบำเหน็จบำนาญ เงินทำขวัญ เงินช่วยเหลือ
- การจัดทำแผนกลยุทธของ อบต. และแผนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ การตรวจสอบสืบสวนหาข้อเท็จจริง ร้องเรียน แจ้งเบาะแส ดำเนินการทางวินัยพิจารณาดำเนินการเกี่ยวกับอุทธรณ์ การวางแผนเสริมสร้างและปรับปรุงระบบงานวินัย การรักาาวินัยและจรรยาของพนักงานส่วนตำบลให้สดอคล้องกับประกาศคุณะรรม จริยธรรม และจรรยาวิชาชนองค์กร
- การดำเนินการด้านการฝึกอบรม
ชื่อไฟล์ :
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
../add_file/
ชื่อไฟล์ : รอปรับปรุง
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: รอปรับปรุง../add_file/รอปรับปรุง
ชื่อไฟล์ : รอปรับปรุง
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: รอปรับปรุง../add_file/รอปรับปรุง
ชื่อไฟล์ :
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
* แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี
* รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้าง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
* แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี
* รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้าง
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
* แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี
* รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้าง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
* แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี
* รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้าง " class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
* แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี
* รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้าง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
* แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี
* รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้าง ../add_file/
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
* แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี
* รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้าง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
* แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี
* รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้าง ชื่อไฟล์ :
รายงานงบการเงินประจำปีงบประมาณ 2556
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2561
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2562
รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี พ.ศ. 2562
รอบ 6 เดือน
รายงานงบการเงินประจำปีงบประมาณ 2556
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2561
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2562
รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี พ.ศ. 2562
รอบ 6 เดือน " class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
รายงานงบการเงินประจำปีงบประมาณ 2556
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2561
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2562
รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี พ.ศ. 2562
รอบ 6 เดือน
../add_file/
รายงานงบการเงินประจำปีงบประมาณ 2556
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2561
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2562
รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี พ.ศ. 2562
รอบ 6 เดือน
ชื่อไฟล์ :
ประวัติความเป็นมาของตำบลสมัย
ด้วยที่ พ่ออาจารย์บุญตัน สอนอินต๊ะ อดีตประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ท่านได้สืบถามคนเฒ่าคนแก่ในตำบลสมัย ตลอดจนผู้รู้ในตำบลสมัย ถึงความเป็นมาของตำบลสมัยนั้นว่าความเป็นมาอย่างไร ซึ่งพ่ออาจารย์บุญตัน สอนอินต๊ะ ได้มาปรึกษาท่านพระครูวิจารณ์ภัทรกิจ เจ้าคณะตำบลสมัย/เจ้าอาวาสวัดบ้านจัวว่าสมควรที่จะพิมพ์และบันทึกไว้ให้กับคนรุ่นหลังได้ทราบโดยสังเขปดังนี้
พ่อหลวงปุ๊ด ทินวัง อดีตผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง เล่าว่าแต่เดิมราษฎรบ้านสมัยมีคนเล่าว่าสืบเชื้อสายมาจาก ลัวะ พากันหนีอพยพลงมาตั้งอยู่ฝั่งสบห้วยสมัย ห้วยแม่มอด นานมาแล้วมีอาชีพทำไร่ ทำนา ปลูกพืชไร่ ปลูกม่อน เลี้ยงไหม ปั่นเส้นด้าย ชักใยไหม ทำทอเป็นผืนแผ่นผ้า ตัดเย็บเสื้อผ้า นุ่งผ้า อยู่กันมาช้านาน ตั้งชื่อกันขึ้นมาว่าเป็นบ้านสอยไหม ราษฎรชาวบ้านรวมกันสร้างวัดขึ้นชื่อว่าวัดต๊อบข๊อบ อาคารสำนักวัดตั้งด้วยไม้ หลังคามุงด้วยหญ้าคา ฝาไม้ไผ่ ใช้เป็นสถานที่ศึกษาเล่าเรียนของพระภิกษุสงฆ์สามเณรศึกษาเล่าเรียนภาษาล้านนา (เรียกกันว่าภาษาพื้นเมือง) อยู่นานเข้าพระภิกษุสามเณรได้ลาสิกขา ออกเป็นชาวบ้านเรียกกันว่าเป็นหน้อย หนาน (เป็นเซียง-เป็นทิด)
พระยาเจ้าเมืองได้ส่งเสนาบดีออกมาทำการสำรวจตรวจสอบจำนวนผู้คนได้นำเอาชื่อหนานคำแสนตั้งเป็นหัวหน้าหมู่บ้าน แต่งตั้งชื่อว่าต๊าวคำแสน ให้มีการปกครองรักษาความสงบสุขของราษฎรให้ทำมาเลี้ยงชีพด้วยความผาสุก หมดสมัยต๊าวคำแสนเจ้าเมืองลำปางได้แต่งตั้งต๊าวคนใหม่ขึ้นชื่อว่า ต๊าวเสมอใจ ส่วนราษฎรที่ย้ายไปตั้งหมู่บ้านอยู่บ้านน้ำหลง เจ้าเมืองลำปางได้ตั้งหน้อยแสนอินต๊ะ เป็นหัวหน้าหมู่บ้าน
ต่อมามีการแต่งตั้ง ต๊าวคำแดง เป็นผู้ปกครองดูแลบ้านสมัยหมู่ที่ 1 แต่งตั้ง หน้อยแสน อินต๊ะ เป็นผู้ปกครองลูกบ้านน้ำหลง หมู่ที่ 2 แต่งตั้งต๊าวคำน้อย เป็นผู้ปกครองราษฎรบ้านจัว หมู่ที่ 3 แต่งตั้งหนานหนิ้ว เป็นผู้ช่วยไปปกครองราษฎรบ้านอุมลอง นำพาลูกบ้านประกอบการทำมาเลี้ยงครอบครัวสืบต่อมา ทางวัดสมัยคิดตั้งสำนักขึ้นที่สันทางทิศเหนือหมู่บ้านโดยออกชักชวนราษฎร ผู้มีใจบุญ เสียสละแรงงาน ตัดไม้เสา ไม้เครื่องบน ออกไปเก็บหญ้าคา สร้างเป็นศาลาสร้างที่พัก (นอน) ได้ไปนิมนต์พระสงฆ์มาประจำ สอนให้เรียนภาษาล้านนา ภาษาพื้นเมืองเหนือ เริ่มต้น กะ ขะ ก๊ะ คะ งะ ถึง สะหะระละอํ เจ้าอาวาสวัดออกไปติดต่อขอยืมหนังสือฉบับต้นนำเอามาเขียนคัด ลงใส่ใบลาน หรือกระดาษสา เป็นคำสวดมนต์เขียนเป็นธรรมเทศน์นิยามคำสอนอบรมชาวบ้านให้เป็นผู้มีความรู้ นำวิชาความรู้ที่ได้รับสนองจากพระอาจารย์ออกไปเผยแผ่ตามคำสอนได้เขียนไว้ในพระธรรมคำสอนว่า ผู้ใด พระ ภิกษุ สามเณร ผู้ใดได้ทำการอบรมสั่งสอนลูกศิษย์จนมีความรู้อ่าน เทศน์ หนังสือใบลาน ให้ผู้อื่นรับฟัง จนมีความรู้ความเข้าใจจะเป็นผู้มีอานิสงส์นาบุญสูง ราษฎรชาวบ้านต่างก็นำลูกหลานเข้าไปมอบตัวเป็นศิษย์กับพระภิกษุสามเณรที่อยู่ตามวัดต่าง ๆ ตั้งใจฝึกสอนลูกศิษย์จนมีความรู้ภาษาพื้นเมืองขยายออกไปบ้านก็ลาสิกขา ออกไปเป็นคฤหัสห์ ได้ชื่อว่าเป็น หน้อย เป็นหนาน (เซียง เป็นทิด) พร้อมกับได้ร่ำเรียนวิชาอาคมคงกระพันต่อศาสตราอาวุธ สมัยนั้น
เวลาต่อมาเกิดภาวะฟ้าฝนไม่ตกตามฤดูกาลติดต่อกันเป็นเวลา 3-4 ปี ราษฎรอัตคัดขาดแคลนอาหาร ด้วยความจำเป็นชาวบ้านพากันเดินออกจากบ้านเข้าป่าไปหาขุดหัวเผือก มัน กลอย มาต้มแกง กินกันจนมีคำเล่าลือกันว่าผู้ใดบ้านหลังมีหม้อข้าว (แช่ข้าว) หัวค่ำต้องเอาไปซ่อนไว้ในหัวนอน มิฉะนั้นถูกขโมยแอบลักเอาหม้อข้าวแช่ไว้ตอนเผลอนอนหลับไป เสียงว่าขโมยที่จะไปแอบลักหม้อข้าวแช่ ชอบเจ้าของนอนหลับกรนเสียงดัง ๆ เช่นนี้ลักเอาง่ายมาก และปลอดภัยด้วยเพราะเจ้าของมันหลับกรน กว่าจะรู้นอนหลับตื่นขึ้นมา หม้อข้าวที่แช่ไว้นั้นมีอันตรายขโมยลักเอาไปเสียแล้ว
อยู่มาวันหนึ่ง เป็นปี พ.ศ. 2456 มีหน้อยเป็งเป็นหัวหน้า ไปชักชวนหน้อยขี้ลัก หน้อยอ้ายโอ๋ง และหนานคำเวมาพร้อมหารือว่า ใช้ผ้านุ่งสีดำปึก เย็บไล่สำหรับใส่ข้าวเปลือกคนละถุงติดตัวไปขอข้าวที่บ้านต๊าวคำ ตรงบ้านสันป่าป่าง สมัย หนานคำเวถามว่าขอไม่ได้จะทำอย่างไร ส่วนหน้อยเป็งพูดว่าข้าจะขึ้นทางหน้าบ้านต๊าวคำ หื้อหน้อยขี้ลักขึ้นบนหลองข้าวตักเอาข้าวใส่ไต้ ส่วนหน้อยอ้ายโอ๋ง ถือมีดดาบเฝ้าดูต้นทาง (ส่วนหนานคำเว) เป็นขี้แขะ บอกคำปฏิเสธไม่ยอมร่วมทีมด้วย ทั้ง 3 คนออกเดินทางจากบ้าวจัว ตรงไปที่บ้านต๊าวคำแดง ปรากฏว่าหน้อยเป็งจะพูดอ้อนวอนปานใด ต๊าวคำแดงก็ไม่ยอมส่วนหน้อยขี้ลักขึ้นหลองข้าวตักเอาข้าวใส่ไต้ ส่วนหน้อยขันแอบฟังอยู่ข้างฝา จึงสะพายมีดดาบ 2 เล่ม ลงทางหลังบ้านคอดใต้ถุนบ้านเพื่อไปเฝ้าดูข้าว ได้ยินเสียงมีผู้คนตักข้าวใส่ไต้หน้อยขี้ลักได้ยินเสียงร้องเรียกให้ลงจากหลองข้าวพร้อมด้วยแบกไต้ข้าว มือขวาถือมีดดาบไว้ป้องกันตัวลงจากหลองข้าวแลเห็นหน้อยขันยืนจ้องดูอยู่ จึงเกิดการต่อสู้กันขึ้นใช้มีดดาบฟาดฟันกัน มีดดาบของหน้อยขี้ลักฟันไปถูกมีดดาบของหน้อยขันตรงด้ามมีดดาบของหน้อยขี้ลักหักคาด้ามดาบของหน้อยขัน หน้อยขี้ลักเสียท่าถูกหน้อยขันฟันตรงท้องเป็นแผลเหวอะหวะ ไส้ของหน้อยขี้ลักไหลออกมาหน้อยขี้ลักส่งเสียงร้องไห้ หน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋งได้มาช่วยเอาลำไส้ของหน้อยขี้ลักยัดใส่เข้าไปในท้องแล้วเอาผ้าขาวมาพันพากันอุ้มเอาหน้อยขี้ลัก หนีออกไปทางทิศตะวันตกข้ามลำห้วยสมัยไปถึงต้นไม้ใหญ่ หน้อยขี้ลักไม่ไหวสิ้นใจตาย หน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋งจึงพากันหลบหนีเข้าป่าเพื่อไปซ่อนตัวหนีความผิด เหตุการณ์นี้ข่าวไปถึงอำเภอ อำเภอส่งข่าวไปถึงพระยาเจ้าเมือง ได้ส่งเจ้าหน้าที่ติดตามนำเอาตัวคนร้ายไปดำเนินคดี ต๊าวแสน อินต๊ะได้ติดตามไปเกลี้ยกล่อมหน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋ง ส่งถึงเจ้าเมืองลำปางเพื่อดำเนินคดี
พอเจ้าบุญทวงค์วงมานิตย์ เจ้าผู้ครองนครลำปาง ได้บัญชาแต่งตั้งให้ต๊าวแสน อินต๊ะ เป็นขุนมือปราบโจรผู้ร้ายแต่ ต๊าวแสน อินต๊ะ ให้แต่งตั้งขุนสมัยธนกิจ ทินวัง ตำบลสมัยได้รับยกฐานะสูงเป็นขุนสมัยคนที่ 1 คนที่ 2 แต่งตั้งให้พ่อขุนสมัยนิคมบำรุง ได้ทำหน้าที่ในการปกครองตำบลสมัยและท่านได้ทำความดีความชอบตลอดความสามัคคีปรองดองและความสามัคคีในตำบลสมัยให้มีความสุข ความเจริญ เสมอมาตราบเท่าในปัจจุบันนี้
อาณาเขต
พื้นที่ความรับผิดชอบที่อยู่ในเขต องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย มีทั้งหมด 148.56 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 92,484 ไร่ อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ ไปทางทิศตะวันออกเป็นระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอใกล้เคียง ดังนี้
ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.แม่กัวะ อ.สบปราบ และต.สันดอนแก้ว อ.แม่ทะ จ.ลำปาง
ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.ป่าสัก อ.วังชิ้น จ.แพร่ และต.สบปราบ อ.สบปราบ จ.ลำปาง
ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.แม่พุง อ.วังชิ้น จ.แพร่
ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.สบปราบ อ.สบปราบ จ.ลำปาง
ประวัติความเป็นมาของตำบลสมัย
ด้วยที่ พ่ออาจารย์บุญตัน สอนอินต๊ะ อดีตประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ท่านได้สืบถามคนเฒ่าคนแก่ในตำบลสมัย ตลอดจนผู้รู้ในตำบลสมัย ถึงความเป็นมาของตำบลสมัยนั้นว่าความเป็นมาอย่างไร ซึ่งพ่ออาจารย์บุญตัน สอนอินต๊ะ ได้มาปรึกษาท่านพระครูวิจารณ์ภัทรกิจ เจ้าคณะตำบลสมัย/เจ้าอาวาสวัดบ้านจัวว่าสมควรที่จะพิมพ์และบันทึกไว้ให้กับคนรุ่นหลังได้ทราบโดยสังเขปดังนี้
พ่อหลวงปุ๊ด ทินวัง อดีตผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง เล่าว่าแต่เดิมราษฎรบ้านสมัยมีคนเล่าว่าสืบเชื้อสายมาจาก ลัวะ พากันหนีอพยพลงมาตั้งอยู่ฝั่งสบห้วยสมัย ห้วยแม่มอด นานมาแล้วมีอาชีพทำไร่ ทำนา ปลูกพืชไร่ ปลูกม่อน เลี้ยงไหม ปั่นเส้นด้าย ชักใยไหม ทำทอเป็นผืนแผ่นผ้า ตัดเย็บเสื้อผ้า นุ่งผ้า อยู่กันมาช้านาน ตั้งชื่อกันขึ้นมาว่าเป็นบ้านสอยไหม ราษฎรชาวบ้านรวมกันสร้างวัดขึ้นชื่อว่าวัดต๊อบข๊อบ อาคารสำนักวัดตั้งด้วยไม้ หลังคามุงด้วยหญ้าคา ฝาไม้ไผ่ ใช้เป็นสถานที่ศึกษาเล่าเรียนของพระภิกษุสงฆ์สามเณรศึกษาเล่าเรียนภาษาล้านนา (เรียกกันว่าภาษาพื้นเมือง) อยู่นานเข้าพระภิกษุสามเณรได้ลาสิกขา ออกเป็นชาวบ้านเรียกกันว่าเป็นหน้อย หนาน (เป็นเซียง-เป็นทิด)
พระยาเจ้าเมืองได้ส่งเสนาบดีออกมาทำการสำรวจตรวจสอบจำนวนผู้คนได้นำเอาชื่อหนานคำแสนตั้งเป็นหัวหน้าหมู่บ้าน แต่งตั้งชื่อว่าต๊าวคำแสน ให้มีการปกครองรักษาความสงบสุขของราษฎรให้ทำมาเลี้ยงชีพด้วยความผาสุก หมดสมัยต๊าวคำแสนเจ้าเมืองลำปางได้แต่งตั้งต๊าวคนใหม่ขึ้นชื่อว่า ต๊าวเสมอใจ ส่วนราษฎรที่ย้ายไปตั้งหมู่บ้านอยู่บ้านน้ำหลง เจ้าเมืองลำปางได้ตั้งหน้อยแสนอินต๊ะ เป็นหัวหน้าหมู่บ้าน
ต่อมามีการแต่งตั้ง ต๊าวคำแดง เป็นผู้ปกครองดูแลบ้านสมัยหมู่ที่ 1 แต่งตั้ง หน้อยแสน อินต๊ะ เป็นผู้ปกครองลูกบ้านน้ำหลง หมู่ที่ 2 แต่งตั้งต๊าวคำน้อย เป็นผู้ปกครองราษฎรบ้านจัว หมู่ที่ 3 แต่งตั้งหนานหนิ้ว เป็นผู้ช่วยไปปกครองราษฎรบ้านอุมลอง นำพาลูกบ้านประกอบการทำมาเลี้ยงครอบครัวสืบต่อมา ทางวัดสมัยคิดตั้งสำนักขึ้นที่สันทางทิศเหนือหมู่บ้านโดยออกชักชวนราษฎร ผู้มีใจบุญ เสียสละแรงงาน ตัดไม้เสา ไม้เครื่องบน ออกไปเก็บหญ้าคา สร้างเป็นศาลาสร้างที่พัก (นอน) ได้ไปนิมนต์พระสงฆ์มาประจำ สอนให้เรียนภาษาล้านนา ภาษาพื้นเมืองเหนือ เริ่มต้น กะ ขะ ก๊ะ คะ งะ ถึง สะหะระละอํ เจ้าอาวาสวัดออกไปติดต่อขอยืมหนังสือฉบับต้นนำเอามาเขียนคัด ลงใส่ใบลาน หรือกระดาษสา เป็นคำสวดมนต์เขียนเป็นธรรมเทศน์นิยามคำสอนอบรมชาวบ้านให้เป็นผู้มีความรู้ นำวิชาความรู้ที่ได้รับสนองจากพระอาจารย์ออกไปเผยแผ่ตามคำสอนได้เขียนไว้ในพระธรรมคำสอนว่า ผู้ใด พระ ภิกษุ สามเณร ผู้ใดได้ทำการอบรมสั่งสอนลูกศิษย์จนมีความรู้อ่าน เทศน์ หนังสือใบลาน ให้ผู้อื่นรับฟัง จนมีความรู้ความเข้าใจจะเป็นผู้มีอานิสงส์นาบุญสูง ราษฎรชาวบ้านต่างก็นำลูกหลานเข้าไปมอบตัวเป็นศิษย์กับพระภิกษุสามเณรที่อยู่ตามวัดต่าง ๆ ตั้งใจฝึกสอนลูกศิษย์จนมีความรู้ภาษาพื้นเมืองขยายออกไปบ้านก็ลาสิกขา ออกไปเป็นคฤหัสห์ ได้ชื่อว่าเป็น หน้อย เป็นหนาน (เซียง เป็นทิด) พร้อมกับได้ร่ำเรียนวิชาอาคมคงกระพันต่อศาสตราอาวุธ สมัยนั้น
เวลาต่อมาเกิดภาวะฟ้าฝนไม่ตกตามฤดูกาลติดต่อกันเป็นเวลา 3-4 ปี ราษฎรอัตคัดขาดแคลนอาหาร ด้วยความจำเป็นชาวบ้านพากันเดินออกจากบ้านเข้าป่าไปหาขุดหัวเผือก มัน กลอย มาต้มแกง กินกันจนมีคำเล่าลือกันว่าผู้ใดบ้านหลังมีหม้อข้าว (แช่ข้าว) หัวค่ำต้องเอาไปซ่อนไว้ในหัวนอน มิฉะนั้นถูกขโมยแอบลักเอาหม้อข้าวแช่ไว้ตอนเผลอนอนหลับไป เสียงว่าขโมยที่จะไปแอบลักหม้อข้าวแช่ ชอบเจ้าของนอนหลับกรนเสียงดัง ๆ เช่นนี้ลักเอาง่ายมาก และปลอดภัยด้วยเพราะเจ้าของมันหลับกรน กว่าจะรู้นอนหลับตื่นขึ้นมา หม้อข้าวที่แช่ไว้นั้นมีอันตรายขโมยลักเอาไปเสียแล้ว
อยู่มาวันหนึ่ง เป็นปี พ.ศ. 2456 มีหน้อยเป็งเป็นหัวหน้า ไปชักชวนหน้อยขี้ลัก หน้อยอ้ายโอ๋ง และหนานคำเวมาพร้อมหารือว่า ใช้ผ้านุ่งสีดำปึก เย็บไล่สำหรับใส่ข้าวเปลือกคนละถุงติดตัวไปขอข้าวที่บ้านต๊าวคำ ตรงบ้านสันป่าป่าง สมัย หนานคำเวถามว่าขอไม่ได้จะทำอย่างไร ส่วนหน้อยเป็งพูดว่าข้าจะขึ้นทางหน้าบ้านต๊าวคำ หื้อหน้อยขี้ลักขึ้นบนหลองข้าวตักเอาข้าวใส่ไต้ ส่วนหน้อยอ้ายโอ๋ง ถือมีดดาบเฝ้าดูต้นทาง (ส่วนหนานคำเว) เป็นขี้แขะ บอกคำปฏิเสธไม่ยอมร่วมทีมด้วย ทั้ง 3 คนออกเดินทางจากบ้าวจัว ตรงไปที่บ้านต๊าวคำแดง ปรากฏว่าหน้อยเป็งจะพูดอ้อนวอนปานใด ต๊าวคำแดงก็ไม่ยอมส่วนหน้อยขี้ลักขึ้นหลองข้าวตักเอาข้าวใส่ไต้ ส่วนหน้อยขันแอบฟังอยู่ข้างฝา จึงสะพายมีดดาบ 2 เล่ม ลงทางหลังบ้านคอดใต้ถุนบ้านเพื่อไปเฝ้าดูข้าว ได้ยินเสียงมีผู้คนตักข้าวใส่ไต้หน้อยขี้ลักได้ยินเสียงร้องเรียกให้ลงจากหลองข้าวพร้อมด้วยแบกไต้ข้าว มือขวาถือมีดดาบไว้ป้องกันตัวลงจากหลองข้าวแลเห็นหน้อยขันยืนจ้องดูอยู่ จึงเกิดการต่อสู้กันขึ้นใช้มีดดาบฟาดฟันกัน มีดดาบของหน้อยขี้ลักฟันไปถูกมีดดาบของหน้อยขันตรงด้ามมีดดาบของหน้อยขี้ลักหักคาด้ามดาบของหน้อยขัน หน้อยขี้ลักเสียท่าถูกหน้อยขันฟันตรงท้องเป็นแผลเหวอะหวะ ไส้ของหน้อยขี้ลักไหลออกมาหน้อยขี้ลักส่งเสียงร้องไห้ หน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋งได้มาช่วยเอาลำไส้ของหน้อยขี้ลักยัดใส่เข้าไปในท้องแล้วเอาผ้าขาวมาพันพากันอุ้มเอาหน้อยขี้ลัก หนีออกไปทางทิศตะวันตกข้ามลำห้วยสมัยไปถึงต้นไม้ใหญ่ หน้อยขี้ลักไม่ไหวสิ้นใจตาย หน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋งจึงพากันหลบหนีเข้าป่าเพื่อไปซ่อนตัวหนีความผิด เหตุการณ์นี้ข่าวไปถึงอำเภอ อำเภอส่งข่าวไปถึงพระยาเจ้าเมือง ได้ส่งเจ้าหน้าที่ติดตามนำเอาตัวคนร้ายไปดำเนินคดี ต๊าวแสน อินต๊ะได้ติดตามไปเกลี้ยกล่อมหน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋ง ส่งถึงเจ้าเมืองลำปางเพื่อดำเนินคดี
พอเจ้าบุญทวงค์วงมานิตย์ เจ้าผู้ครองนครลำปาง ได้บัญชาแต่งตั้งให้ต๊าวแสน อินต๊ะ เป็นขุนมือปราบโจรผู้ร้ายแต่ ต๊าวแสน อินต๊ะ ให้แต่งตั้งขุนสมัยธนกิจ ทินวัง ตำบลสมัยได้รับยกฐานะสูงเป็นขุนสมัยคนที่ 1 คนที่ 2 แต่งตั้งให้พ่อขุนสมัยนิคมบำรุง ได้ทำหน้าที่ในการปกครองตำบลสมัยและท่านได้ทำความดีความชอบตลอดความสามัคคีปรองดองและความสามัคคีในตำบลสมัยให้มีความสุข ความเจริญ เสมอมาตราบเท่าในปัจจุบันนี้
อาณาเขต
พื้นที่ความรับผิดชอบที่อยู่ในเขต องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย มีทั้งหมด 148.56 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 92,484 ไร่ อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ ไปทางทิศตะวันออกเป็นระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอใกล้เคียง ดังนี้
ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.แม่กัวะ อ.สบปราบ และต.สันดอนแก้ว อ.แม่ทะ จ.ลำปาง
ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.ป่าสัก อ.วังชิ้น จ.แพร่ และต.สบปราบ อ.สบปราบ จ.ลำปาง
ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.แม่พุง อ.วังชิ้น จ.แพร่
ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.สบปราบ อ.สบปราบ จ.ลำปาง
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
ประวัติความเป็นมาของตำบลสมัย
ด้วยที่ พ่ออาจารย์บุญตัน สอนอินต๊ะ อดีตประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ท่านได้สืบถามคนเฒ่าคนแก่ในตำบลสมัย ตลอดจนผู้รู้ในตำบลสมัย ถึงความเป็นมาของตำบลสมัยนั้นว่าความเป็นมาอย่างไร ซึ่งพ่ออาจารย์บุญตัน สอนอินต๊ะ ได้มาปรึกษาท่านพระครูวิจารณ์ภัทรกิจ เจ้าคณะตำบลสมัย/เจ้าอาวาสวัดบ้านจัวว่าสมควรที่จะพิมพ์และบันทึกไว้ให้กับคนรุ่นหลังได้ทราบโดยสังเขปดังนี้
พ่อหลวงปุ๊ด ทินวัง อดีตผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง เล่าว่าแต่เดิมราษฎรบ้านสมัยมีคนเล่าว่าสืบเชื้อสายมาจาก ลัวะ พากันหนีอพยพลงมาตั้งอยู่ฝั่งสบห้วยสมัย ห้วยแม่มอด นานมาแล้วมีอาชีพทำไร่ ทำนา ปลูกพืชไร่ ปลูกม่อน เลี้ยงไหม ปั่นเส้นด้าย ชักใยไหม ทำทอเป็นผืนแผ่นผ้า ตัดเย็บเสื้อผ้า นุ่งผ้า อยู่กันมาช้านาน ตั้งชื่อกันขึ้นมาว่าเป็นบ้านสอยไหม ราษฎรชาวบ้านรวมกันสร้างวัดขึ้นชื่อว่าวัดต๊อบข๊อบ อาคารสำนักวัดตั้งด้วยไม้ หลังคามุงด้วยหญ้าคา ฝาไม้ไผ่ ใช้เป็นสถานที่ศึกษาเล่าเรียนของพระภิกษุสงฆ์สามเณรศึกษาเล่าเรียนภาษาล้านนา (เรียกกันว่าภาษาพื้นเมือง) อยู่นานเข้าพระภิกษุสามเณรได้ลาสิกขา ออกเป็นชาวบ้านเรียกกันว่าเป็นหน้อย หนาน (เป็นเซียง-เป็นทิด)
พระยาเจ้าเมืองได้ส่งเสนาบดีออกมาทำการสำรวจตรวจสอบจำนวนผู้คนได้นำเอาชื่อหนานคำแสนตั้งเป็นหัวหน้าหมู่บ้าน แต่งตั้งชื่อว่าต๊าวคำแสน ให้มีการปกครองรักษาความสงบสุขของราษฎรให้ทำมาเลี้ยงชีพด้วยความผาสุก หมดสมัยต๊าวคำแสนเจ้าเมืองลำปางได้แต่งตั้งต๊าวคนใหม่ขึ้นชื่อว่า ต๊าวเสมอใจ ส่วนราษฎรที่ย้ายไปตั้งหมู่บ้านอยู่บ้านน้ำหลง เจ้าเมืองลำปางได้ตั้งหน้อยแสนอินต๊ะ เป็นหัวหน้าหมู่บ้าน
ต่อมามีการแต่งตั้ง ต๊าวคำแดง เป็นผู้ปกครองดูแลบ้านสมัยหมู่ที่ 1 แต่งตั้ง หน้อยแสน อินต๊ะ เป็นผู้ปกครองลูกบ้านน้ำหลง หมู่ที่ 2 แต่งตั้งต๊าวคำน้อย เป็นผู้ปกครองราษฎรบ้านจัว หมู่ที่ 3 แต่งตั้งหนานหนิ้ว เป็นผู้ช่วยไปปกครองราษฎรบ้านอุมลอง นำพาลูกบ้านประกอบการทำมาเลี้ยงครอบครัวสืบต่อมา ทางวัดสมัยคิดตั้งสำนักขึ้นที่สันทางทิศเหนือหมู่บ้านโดยออกชักชวนราษฎร ผู้มีใจบุญ เสียสละแรงงาน ตัดไม้เสา ไม้เครื่องบน ออกไปเก็บหญ้าคา สร้างเป็นศาลาสร้างที่พัก (นอน) ได้ไปนิมนต์พระสงฆ์มาประจำ สอนให้เรียนภาษาล้านนา ภาษาพื้นเมืองเหนือ เริ่มต้น กะ ขะ ก๊ะ คะ งะ ถึง สะหะระละอํ เจ้าอาวาสวัดออกไปติดต่อขอยืมหนังสือฉบับต้นนำเอามาเขียนคัด ลงใส่ใบลาน หรือกระดาษสา เป็นคำสวดมนต์เขียนเป็นธรรมเทศน์นิยามคำสอนอบรมชาวบ้านให้เป็นผู้มีความรู้ นำวิชาความรู้ที่ได้รับสนองจากพระอาจารย์ออกไปเผยแผ่ตามคำสอนได้เขียนไว้ในพระธรรมคำสอนว่า ผู้ใด พระ ภิกษุ สามเณร ผู้ใดได้ทำการอบรมสั่งสอนลูกศิษย์จนมีความรู้อ่าน เทศน์ หนังสือใบลาน ให้ผู้อื่นรับฟัง จนมีความรู้ความเข้าใจจะเป็นผู้มีอานิสงส์นาบุญสูง ราษฎรชาวบ้านต่างก็นำลูกหลานเข้าไปมอบตัวเป็นศิษย์กับพระภิกษุสามเณรที่อยู่ตามวัดต่าง ๆ ตั้งใจฝึกสอนลูกศิษย์จนมีความรู้ภาษาพื้นเมืองขยายออกไปบ้านก็ลาสิกขา ออกไปเป็นคฤหัสห์ ได้ชื่อว่าเป็น หน้อย เป็นหนาน (เซียง เป็นทิด) พร้อมกับได้ร่ำเรียนวิชาอาคมคงกระพันต่อศาสตราอาวุธ สมัยนั้น
เวลาต่อมาเกิดภาวะฟ้าฝนไม่ตกตามฤดูกาลติดต่อกันเป็นเวลา 3-4 ปี ราษฎรอัตคัดขาดแคลนอาหาร ด้วยความจำเป็นชาวบ้านพากันเดินออกจากบ้านเข้าป่าไปหาขุดหัวเผือก มัน กลอย มาต้มแกง กินกันจนมีคำเล่าลือกันว่าผู้ใดบ้านหลังมีหม้อข้าว (แช่ข้าว) หัวค่ำต้องเอาไปซ่อนไว้ในหัวนอน มิฉะนั้นถูกขโมยแอบลักเอาหม้อข้าวแช่ไว้ตอนเผลอนอนหลับไป เสียงว่าขโมยที่จะไปแอบลักหม้อข้าวแช่ ชอบเจ้าของนอนหลับกรนเสียงดัง ๆ เช่นนี้ลักเอาง่ายมาก และปลอดภัยด้วยเพราะเจ้าของมันหลับกรน กว่าจะรู้นอนหลับตื่นขึ้นมา หม้อข้าวที่แช่ไว้นั้นมีอันตรายขโมยลักเอาไปเสียแล้ว
อยู่มาวันหนึ่ง เป็นปี พ.ศ. 2456 มีหน้อยเป็งเป็นหัวหน้า ไปชักชวนหน้อยขี้ลัก หน้อยอ้ายโอ๋ง และหนานคำเวมาพร้อมหารือว่า ใช้ผ้านุ่งสีดำปึก เย็บไล่สำหรับใส่ข้าวเปลือกคนละถุงติดตัวไปขอข้าวที่บ้านต๊าวคำ ตรงบ้านสันป่าป่าง สมัย หนานคำเวถามว่าขอไม่ได้จะทำอย่างไร ส่วนหน้อยเป็งพูดว่าข้าจะขึ้นทางหน้าบ้านต๊าวคำ หื้อหน้อยขี้ลักขึ้นบนหลองข้าวตักเอาข้าวใส่ไต้ ส่วนหน้อยอ้ายโอ๋ง ถือมีดดาบเฝ้าดูต้นทาง (ส่วนหนานคำเว) เป็นขี้แขะ บอกคำปฏิเสธไม่ยอมร่วมทีมด้วย ทั้ง 3 คนออกเดินทางจากบ้าวจัว ตรงไปที่บ้านต๊าวคำแดง ปรากฏว่าหน้อยเป็งจะพูดอ้อนวอนปานใด ต๊าวคำแดงก็ไม่ยอมส่วนหน้อยขี้ลักขึ้นหลองข้าวตักเอาข้าวใส่ไต้ ส่วนหน้อยขันแอบฟังอยู่ข้างฝา จึงสะพายมีดดาบ 2 เล่ม ลงทางหลังบ้านคอดใต้ถุนบ้านเพื่อไปเฝ้าดูข้าว ได้ยินเสียงมีผู้คนตักข้าวใส่ไต้หน้อยขี้ลักได้ยินเสียงร้องเรียกให้ลงจากหลองข้าวพร้อมด้วยแบกไต้ข้าว มือขวาถือมีดดาบไว้ป้องกันตัวลงจากหลองข้าวแลเห็นหน้อยขันยืนจ้องดูอยู่ จึงเกิดการต่อสู้กันขึ้นใช้มีดดาบฟาดฟันกัน มีดดาบของหน้อยขี้ลักฟันไปถูกมีดดาบของหน้อยขันตรงด้ามมีดดาบของหน้อยขี้ลักหักคาด้ามดาบของหน้อยขัน หน้อยขี้ลักเสียท่าถูกหน้อยขันฟันตรงท้องเป็นแผลเหวอะหวะ ไส้ของหน้อยขี้ลักไหลออกมาหน้อยขี้ลักส่งเสียงร้องไห้ หน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋งได้มาช่วยเอาลำไส้ของหน้อยขี้ลักยัดใส่เข้าไปในท้องแล้วเอาผ้าขาวมาพันพากันอุ้มเอาหน้อยขี้ลัก หนีออกไปทางทิศตะวันตกข้ามลำห้วยสมัยไปถึงต้นไม้ใหญ่ หน้อยขี้ลักไม่ไหวสิ้นใจตาย หน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋งจึงพากันหลบหนีเข้าป่าเพื่อไปซ่อนตัวหนีความผิด เหตุการณ์นี้ข่าวไปถึงอำเภอ อำเภอส่งข่าวไปถึงพระยาเจ้าเมือง ได้ส่งเจ้าหน้าที่ติดตามนำเอาตัวคนร้ายไปดำเนินคดี ต๊าวแสน อินต๊ะได้ติดตามไปเกลี้ยกล่อมหน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋ง ส่งถึงเจ้าเมืองลำปางเพื่อดำเนินคดี
พอเจ้าบุญทวงค์วงมานิตย์ เจ้าผู้ครองนครลำปาง ได้บัญชาแต่งตั้งให้ต๊าวแสน อินต๊ะ เป็นขุนมือปราบโจรผู้ร้ายแต่ ต๊าวแสน อินต๊ะ ให้แต่งตั้งขุนสมัยธนกิจ ทินวัง ตำบลสมัยได้รับยกฐานะสูงเป็นขุนสมัยคนที่ 1 คนที่ 2 แต่งตั้งให้พ่อขุนสมัยนิคมบำรุง ได้ทำหน้าที่ในการปกครองตำบลสมัยและท่านได้ทำความดีความชอบตลอดความสามัคคีปรองดองและความสามัคคีในตำบลสมัยให้มีความสุข ความเจริญ เสมอมาตราบเท่าในปัจจุบันนี้
อาณาเขต
พื้นที่ความรับผิดชอบที่อยู่ในเขต องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย มีทั้งหมด 148.56 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 92,484 ไร่ อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ ไปทางทิศตะวันออกเป็นระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอใกล้เคียง ดังนี้
ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.แม่กัวะ อ.สบปราบ และต.สันดอนแก้ว อ.แม่ทะ จ.ลำปาง
ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.ป่าสัก อ.วังชิ้น จ.แพร่ และต.สบปราบ อ.สบปราบ จ.ลำปาง
ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.แม่พุง อ.วังชิ้น จ.แพร่
ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.สบปราบ อ.สบปราบ จ.ลำปาง
../add_file/
ประวัติความเป็นมาของตำบลสมัย
ด้วยที่ พ่ออาจารย์บุญตัน สอนอินต๊ะ อดีตประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ท่านได้สืบถามคนเฒ่าคนแก่ในตำบลสมัย ตลอดจนผู้รู้ในตำบลสมัย ถึงความเป็นมาของตำบลสมัยนั้นว่าความเป็นมาอย่างไร ซึ่งพ่ออาจารย์บุญตัน สอนอินต๊ะ ได้มาปรึกษาท่านพระครูวิจารณ์ภัทรกิจ เจ้าคณะตำบลสมัย/เจ้าอาวาสวัดบ้านจัวว่าสมควรที่จะพิมพ์และบันทึกไว้ให้กับคนรุ่นหลังได้ทราบโดยสังเขปดังนี้
พ่อหลวงปุ๊ด ทินวัง อดีตผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง เล่าว่าแต่เดิมราษฎรบ้านสมัยมีคนเล่าว่าสืบเชื้อสายมาจาก ลัวะ พากันหนีอพยพลงมาตั้งอยู่ฝั่งสบห้วยสมัย ห้วยแม่มอด นานมาแล้วมีอาชีพทำไร่ ทำนา ปลูกพืชไร่ ปลูกม่อน เลี้ยงไหม ปั่นเส้นด้าย ชักใยไหม ทำทอเป็นผืนแผ่นผ้า ตัดเย็บเสื้อผ้า นุ่งผ้า อยู่กันมาช้านาน ตั้งชื่อกันขึ้นมาว่าเป็นบ้านสอยไหม ราษฎรชาวบ้านรวมกันสร้างวัดขึ้นชื่อว่าวัดต๊อบข๊อบ อาคารสำนักวัดตั้งด้วยไม้ หลังคามุงด้วยหญ้าคา ฝาไม้ไผ่ ใช้เป็นสถานที่ศึกษาเล่าเรียนของพระภิกษุสงฆ์สามเณรศึกษาเล่าเรียนภาษาล้านนา (เรียกกันว่าภาษาพื้นเมือง) อยู่นานเข้าพระภิกษุสามเณรได้ลาสิกขา ออกเป็นชาวบ้านเรียกกันว่าเป็นหน้อย หนาน (เป็นเซียง-เป็นทิด)
พระยาเจ้าเมืองได้ส่งเสนาบดีออกมาทำการสำรวจตรวจสอบจำนวนผู้คนได้นำเอาชื่อหนานคำแสนตั้งเป็นหัวหน้าหมู่บ้าน แต่งตั้งชื่อว่าต๊าวคำแสน ให้มีการปกครองรักษาความสงบสุขของราษฎรให้ทำมาเลี้ยงชีพด้วยความผาสุก หมดสมัยต๊าวคำแสนเจ้าเมืองลำปางได้แต่งตั้งต๊าวคนใหม่ขึ้นชื่อว่า ต๊าวเสมอใจ ส่วนราษฎรที่ย้ายไปตั้งหมู่บ้านอยู่บ้านน้ำหลง เจ้าเมืองลำปางได้ตั้งหน้อยแสนอินต๊ะ เป็นหัวหน้าหมู่บ้าน
ต่อมามีการแต่งตั้ง ต๊าวคำแดง เป็นผู้ปกครองดูแลบ้านสมัยหมู่ที่ 1 แต่งตั้ง หน้อยแสน อินต๊ะ เป็นผู้ปกครองลูกบ้านน้ำหลง หมู่ที่ 2 แต่งตั้งต๊าวคำน้อย เป็นผู้ปกครองราษฎรบ้านจัว หมู่ที่ 3 แต่งตั้งหนานหนิ้ว เป็นผู้ช่วยไปปกครองราษฎรบ้านอุมลอง นำพาลูกบ้านประกอบการทำมาเลี้ยงครอบครัวสืบต่อมา ทางวัดสมัยคิดตั้งสำนักขึ้นที่สันทางทิศเหนือหมู่บ้านโดยออกชักชวนราษฎร ผู้มีใจบุญ เสียสละแรงงาน ตัดไม้เสา ไม้เครื่องบน ออกไปเก็บหญ้าคา สร้างเป็นศาลาสร้างที่พัก (นอน) ได้ไปนิมนต์พระสงฆ์มาประจำ สอนให้เรียนภาษาล้านนา ภาษาพื้นเมืองเหนือ เริ่มต้น กะ ขะ ก๊ะ คะ งะ ถึง สะหะระละอํ เจ้าอาวาสวัดออกไปติดต่อขอยืมหนังสือฉบับต้นนำเอามาเขียนคัด ลงใส่ใบลาน หรือกระดาษสา เป็นคำสวดมนต์เขียนเป็นธรรมเทศน์นิยามคำสอนอบรมชาวบ้านให้เป็นผู้มีความรู้ นำวิชาความรู้ที่ได้รับสนองจากพระอาจารย์ออกไปเผยแผ่ตามคำสอนได้เขียนไว้ในพระธรรมคำสอนว่า ผู้ใด พระ ภิกษุ สามเณร ผู้ใดได้ทำการอบรมสั่งสอนลูกศิษย์จนมีความรู้อ่าน เทศน์ หนังสือใบลาน ให้ผู้อื่นรับฟัง จนมีความรู้ความเข้าใจจะเป็นผู้มีอานิสงส์นาบุญสูง ราษฎรชาวบ้านต่างก็นำลูกหลานเข้าไปมอบตัวเป็นศิษย์กับพระภิกษุสามเณรที่อยู่ตามวัดต่าง ๆ ตั้งใจฝึกสอนลูกศิษย์จนมีความรู้ภาษาพื้นเมืองขยายออกไปบ้านก็ลาสิกขา ออกไปเป็นคฤหัสห์ ได้ชื่อว่าเป็น หน้อย เป็นหนาน (เซียง เป็นทิด) พร้อมกับได้ร่ำเรียนวิชาอาคมคงกระพันต่อศาสตราอาวุธ สมัยนั้น
เวลาต่อมาเกิดภาวะฟ้าฝนไม่ตกตามฤดูกาลติดต่อกันเป็นเวลา 3-4 ปี ราษฎรอัตคัดขาดแคลนอาหาร ด้วยความจำเป็นชาวบ้านพากันเดินออกจากบ้านเข้าป่าไปหาขุดหัวเผือก มัน กลอย มาต้มแกง กินกันจนมีคำเล่าลือกันว่าผู้ใดบ้านหลังมีหม้อข้าว (แช่ข้าว) หัวค่ำต้องเอาไปซ่อนไว้ในหัวนอน มิฉะนั้นถูกขโมยแอบลักเอาหม้อข้าวแช่ไว้ตอนเผลอนอนหลับไป เสียงว่าขโมยที่จะไปแอบลักหม้อข้าวแช่ ชอบเจ้าของนอนหลับกรนเสียงดัง ๆ เช่นนี้ลักเอาง่ายมาก และปลอดภัยด้วยเพราะเจ้าของมันหลับกรน กว่าจะรู้นอนหลับตื่นขึ้นมา หม้อข้าวที่แช่ไว้นั้นมีอันตรายขโมยลักเอาไปเสียแล้ว
อยู่มาวันหนึ่ง เป็นปี พ.ศ. 2456 มีหน้อยเป็งเป็นหัวหน้า ไปชักชวนหน้อยขี้ลัก หน้อยอ้ายโอ๋ง และหนานคำเวมาพร้อมหารือว่า ใช้ผ้านุ่งสีดำปึก เย็บไล่สำหรับใส่ข้าวเปลือกคนละถุงติดตัวไปขอข้าวที่บ้านต๊าวคำ ตรงบ้านสันป่าป่าง สมัย หนานคำเวถามว่าขอไม่ได้จะทำอย่างไร ส่วนหน้อยเป็งพูดว่าข้าจะขึ้นทางหน้าบ้านต๊าวคำ หื้อหน้อยขี้ลักขึ้นบนหลองข้าวตักเอาข้าวใส่ไต้ ส่วนหน้อยอ้ายโอ๋ง ถือมีดดาบเฝ้าดูต้นทาง (ส่วนหนานคำเว) เป็นขี้แขะ บอกคำปฏิเสธไม่ยอมร่วมทีมด้วย ทั้ง 3 คนออกเดินทางจากบ้าวจัว ตรงไปที่บ้านต๊าวคำแดง ปรากฏว่าหน้อยเป็งจะพูดอ้อนวอนปานใด ต๊าวคำแดงก็ไม่ยอมส่วนหน้อยขี้ลักขึ้นหลองข้าวตักเอาข้าวใส่ไต้ ส่วนหน้อยขันแอบฟังอยู่ข้างฝา จึงสะพายมีดดาบ 2 เล่ม ลงทางหลังบ้านคอดใต้ถุนบ้านเพื่อไปเฝ้าดูข้าว ได้ยินเสียงมีผู้คนตักข้าวใส่ไต้หน้อยขี้ลักได้ยินเสียงร้องเรียกให้ลงจากหลองข้าวพร้อมด้วยแบกไต้ข้าว มือขวาถือมีดดาบไว้ป้องกันตัวลงจากหลองข้าวแลเห็นหน้อยขันยืนจ้องดูอยู่ จึงเกิดการต่อสู้กันขึ้นใช้มีดดาบฟาดฟันกัน มีดดาบของหน้อยขี้ลักฟันไปถูกมีดดาบของหน้อยขันตรงด้ามมีดดาบของหน้อยขี้ลักหักคาด้ามดาบของหน้อยขัน หน้อยขี้ลักเสียท่าถูกหน้อยขันฟันตรงท้องเป็นแผลเหวอะหวะ ไส้ของหน้อยขี้ลักไหลออกมาหน้อยขี้ลักส่งเสียงร้องไห้ หน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋งได้มาช่วยเอาลำไส้ของหน้อยขี้ลักยัดใส่เข้าไปในท้องแล้วเอาผ้าขาวมาพันพากันอุ้มเอาหน้อยขี้ลัก หนีออกไปทางทิศตะวันตกข้ามลำห้วยสมัยไปถึงต้นไม้ใหญ่ หน้อยขี้ลักไม่ไหวสิ้นใจตาย หน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋งจึงพากันหลบหนีเข้าป่าเพื่อไปซ่อนตัวหนีความผิด เหตุการณ์นี้ข่าวไปถึงอำเภอ อำเภอส่งข่าวไปถึงพระยาเจ้าเมือง ได้ส่งเจ้าหน้าที่ติดตามนำเอาตัวคนร้ายไปดำเนินคดี ต๊าวแสน อินต๊ะได้ติดตามไปเกลี้ยกล่อมหน้อยเป็งและหน้อยอ้ายโอ๋ง ส่งถึงเจ้าเมืองลำปางเพื่อดำเนินคดี
พอเจ้าบุญทวงค์วงมานิตย์ เจ้าผู้ครองนครลำปาง ได้บัญชาแต่งตั้งให้ต๊าวแสน อินต๊ะ เป็นขุนมือปราบโจรผู้ร้ายแต่ ต๊าวแสน อินต๊ะ ให้แต่งตั้งขุนสมัยธนกิจ ทินวัง ตำบลสมัยได้รับยกฐานะสูงเป็นขุนสมัยคนที่ 1 คนที่ 2 แต่งตั้งให้พ่อขุนสมัยนิคมบำรุง ได้ทำหน้าที่ในการปกครองตำบลสมัยและท่านได้ทำความดีความชอบตลอดความสามัคคีปรองดองและความสามัคคีในตำบลสมัยให้มีความสุข ความเจริญ เสมอมาตราบเท่าในปัจจุบันนี้
อาณาเขต
พื้นที่ความรับผิดชอบที่อยู่ในเขต องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย มีทั้งหมด 148.56 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 92,484 ไร่ อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ ไปทางทิศตะวันออกเป็นระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอใกล้เคียง ดังนี้
ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.แม่กัวะ อ.สบปราบ และต.สันดอนแก้ว อ.แม่ทะ จ.ลำปาง
ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.ป่าสัก อ.วังชิ้น จ.แพร่ และต.สบปราบ อ.สบปราบ จ.ลำปาง
ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.แม่พุง อ.วังชิ้น จ.แพร่
ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับ ต.สบปราบ อ.สบปราบ จ.ลำปาง
ชื่อไฟล์ : HogfLKGMon15043.pdf
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์ : zw2aXUiWed121252.pdf
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์ : EQGsmAVMon15531.pdf
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์ :
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ../add_file/
ชื่อไฟล์ :
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ../add_file/
ชื่อไฟล์ :
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ../add_file/
ชื่อไฟล์ :
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ../add_file/
ชื่อไฟล์ :
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ../add_file/
ชื่อไฟล์ :
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562